วันจันทร์ที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2555

2 morning chanting ทำวัตรเช้า๒




ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถา         คาถานอบน้อมพระรัตนตรัย
(หัวหน้านำ)
หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะ              เรามาสวดนอบน้อม
คาถาโย            เจวะสังเวคะปะริกิตตะนะปาฐัญจะ     พระรัตนตรัยและปลงธรรม
ภะณามะ เส                                                      สังเวชกันเถิด
(รับพร้อมกัน)
พุทโธ สุสุทโธ กะรุณามะหัณณะโว                  พระพุทธเจ้าพระองค์ใด เป็นผู้หมดจดดีแล้ว
ผู้บริสุทธิ์มีพระกรุณาดุจห้วงมหรรณพ
โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน,              มีพระปัญญาจักษุหมดจดแล้ว โดยส่วนเดียว
โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก,                      ฆ่าบาปและอุปกิเลสแห่งโลก
วันทามิ พุทธัง อะหะมาทะเรนะ ตัง,                ข้าพเจ้าไหว้พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น โดยความเคารพ
ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน,                   พระธรรมของพระศาสดาจารย์เจ้าพระองค์นั้น
ราวกับประทีป
โย มัคคะปากามะตะเภทะภินนะโก,                 พระธรรมอันใดต่างโดยประเภทคือมรรคผลและนิพพาน
โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน,                  เป็นธรรมข้ามโลก และธรรมอันใด
ส่องเนื้อความแห่งโลกัตรธรรมนั้น
วันทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง                  ข้าพเจ้าไหว้พระธรรมนั้นโดยใจเคารพ
สังโฆ สุเขตตาภฺยะติเขตตะสัญญิโต,                พระสงฆ์หมู่ใดจัดเป็นนาดียิ่งกว่านาดี
โย ทิฏฐะสันโต สุคะตานุโพธะโก,                    มีความระงับอัน ประจักษ์แล้ว รู้ตามสมเด็จพระสุคตเจ้า 
โลลัปปะหีโน อะริโย สุเมธะโส,                        มีกิเลสโลเลอันละได้แล้ว เป็นพระอริยเจ้ามีปัญญาดี  
วันทามิ สังฆัง อะหะมาทะเรนะ ตัง                 ข้าพเจ้าไหว้พระสงฆ์หมู่นั้นโดยใจเคารพ
อิจเจวะเมกันตะภิปูชะเนยยะกัง.                      บุญอันใด ที่ข้าพเจ้าไหว้วัตถุ ๓ เป็นของควรบูชา
วัตถุตตะยัง วันทะยะตาภิสังขะตัง,                 โดยส่วน เดียว สั่งสมแล้วอย่างนี้ ๆ 
ปุญญัง มะยา ยัง มะมะ สัพพุปัตตะวา,            ขอสรพพอุปัทวะทั้งหลายจงอย่ามี
มา โหนตุ เว ตัสสะ ปะภาวะสิทธิยา.                ด้วยความประสิทธานุ ภาพแห่งบุญนั้นแล    
สังเวคะปะริทีปะกะปาฐะ
อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปปันโน                        ในโลกนี้ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ                                  ได้เกิดขึ้นแล้ว                                     
ธัมโม จะ เทสิโต                                               และพระธรรมที่ทรงแสดงแล้ว
นิยยานิโก                                                         เป็นเครื่องนำสัตว์ออก
อุปะสะมิโก                                                      เป็นไปเพื่ออันสงบระงัด
ปะรินิพพานิโก,                                               เป็นไปเพื่ออันดับรอบ
สัมโพธะคามี                                                    ให้ถึงความตรัสรู้
สุคะตัปปะเวทิโต,                                           พระสุคตประกาศแล้ว 
มะยันตัง ธัมมัง สุตฺวา เอวัง ชานามะ,              เราได้ฟังธรรมนั้นแล้วจึงรู้อย่างนี้ว่า
ชาติปิ ทุกขา,                                                   แม้ความเกิด เป็นทุกข์
ชะราปิ ทุกขา,                                                  แม้ความแก่ เป็นทุกข์
มะระณัมปิ ทุกขัง,                                            แม้ความตาย เป็นทุกข์
โสกะปริเทวะทุกขะ                                          แม้ความแห้งใจ ความร่ำไรเพ้อ ความทุกข์
โทมะนสสุปายาสาปิ ทุกขา,                             ความเสียใจ ความคับแค้นใจ เป็นทุกข์                       
อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข,                             ความประจวบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก เป็นทุกข์
ปืเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข                                   ความพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นทีรัก เป็นทุกข์
ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง                     ปรารถนาอยู่ย่อมไม่ได้ แม้อันใด แม้อันนั้นเป็นทุกข์ 
สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา,           โดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้ง เป็นทุกข์
เสยยะถีทัง,                                                      กล่าวคือ
รูปูปาทานักขันโธ                                            อุปาทานขันธ์คือรูป
เวทะนูปาทานักขันโธ,                                     อุปาทานขันธ์คือเวทนา
สัญญูปาทานักขันโธ,                                       อุปาทานขันธ์คือสัญญา
สังขารูปาทานักขันโธ,                                     อุปาทานขันธ์คือสังขาร
วิญญาณูปาทานักขันโธ,                                  อุปาทานขันธ์คือวิญญาณ
เยสัง ปะริญญายะ,                                           เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้า ยังดำรงพระชนม์อยู่
ธะระมาโน โส ภะคะวา,                                   ย่อมแนะนำ สาวกทั้งหลายเพื่อให้กำหนดรู้
เอวัง พะหุลัง สาวะเก วิเนติ,                            อุปาทานขันธ์ ๕ อย่างนี้โดยมาก  

เอวัง ภาคา จะ ปะนัสสะ ภะคะวะโต                ก็แลอนุสาสนีเป็นอันมากของพระผู้มีพระภาคเจ้า
สาวะเกสุ อะนุสาสนี พะหุลา ปะวัตตะติ,         พระองค์ นั้นเป็นไปในสาวกทั้งหลายมีส่วนอย่างนี้ 
รูปัง อะนิจจัง,                                                  รูป ไม่เที่ยง
เวทะนา อะนิจจา                                             เวทนา ไม่เที่ยง
สัญญา อะนิจจา,                                              สัญญา ไม่เที่ยง
สังขารา อะนิจจา,                                            สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง
วิญญาณัง อะนิจจัง,                                         วิญญาณ ไม่เที่ยง
รูปัง อะนัตตา,                                                  รูป เป็นอนัตตา
เวทะนา อะนัตตา                                             เวทนา เป็นอนัตตา
สัญญา อะนัตตา,                                              สัญญา เป็นอนัตตา
สังขารา อะนัตตา,                                            สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา
วิญญาณัง อะนัตตา                                          วิญญาณ เป็นอนัตตา
สัพเพ สังขารา อะนิจจา                                   สังขารทั้งหลายทั้งปวง ไม่เที่ยง
สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ.                                  ธรรมทั้งหลายทั้งปวง เป็นอนัตตา ดังนี้
เต(ตา) มะยัง โอติณณามะหะ,                          พวกเราทั้งหลายเป็นอัน ชาติ
ชาติยา,ชะรามะระเณนะ,                                  ชรา มรณะ โสกะ
โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ           ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส                                     
อุปายาเสหิ,                                                      อุปายาส ครอบงำแล้ว                                                  
ทุกโขติณณา,                                                   ชื่อว่าเป็นผู้มีทุกข์ครอบงำแล้ว
ทุกขะปะเรตา,                                                   มีทุกข์เป็นเบื้องหน้าแล้ว
อัปเปวะนามิมัสสะ เกวะลัสสะ                         ไฉน ความทำที่สุดแห่งทุกทั้งมวลนี้
ทุกขักขันธัสสะอันตะกิริยา ปัญญาเยถาติ.       จะพึงปรากฏ
(ฆราวาส เว้นตรงนี้ไปสวดต่อด้านท้ายสุด)
จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง                  เราทั้งหลาย ถึงแล้วซี่งพระผู้มีพระภาคเจ้า
อุททิสสะ อะระหันตัง สัมมาสัมพุทธัง,            แม้ปรินิพพานนานแล้ว พระองค์นั้น
สัทธา อะคารัสฺมา อะนะคาริยัง ปัพพะชิตา,     ผู้มีศรัทธาออกบวชจากเรือนเป็นอนาคาริกะ

ตัสฺมิง ภะคะวันติ พฺหรหฺจะริยัง จะรามะ,         ประพฤติพรหมจรรย์ ในพระผู้มีพระภาคเจ้า
ภิกขูนัง     (สามะเณรานัง)                               พระองค์นั้น
 สิกขาสาชีวะสะมาปันนา,                               ถึงพร้อมด้วยสิกขาสาชีพของภิกษุทั้งหลาย
ตัง โน พฺรหฺมจะริยัง อิมัสสะ เกวะลัสสะ          ขอพรหมจรรย์ของเราทั้งหลายนั้น จงเป็นไป
ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ.       เพื่ออันกระทำที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ เทอญ.
(ฆราวาส สวดดังนี้)
จิระปะรินิพพุต้มปิ ตัง ภะคะวันตัง                  เราทั้งหลายขอถึงพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์
สะระณังคะตา,                                                 นั้นแม้ปรินิพพานนานมาแล้ว พระองค์นั้น เป็นสรณะ
ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ,                                 ซึ่งพระธรรมด้วย ซึ่งพระสงฆ์ด้วย
ตัสสะ ภะคะวะโต สาสะนัง ยะภาสติ               กระทำในใจอยู่ ปฏิบัติตามอยู่ ซึ่งคำสอนของพระผู้
ยะถาพะลังมะนะสิกะโรมะ,                             มีพระภาคเจ้านั้นตามสติกำลัง
อะนุปะฏิปัชชามะสา สา โน ปะฏิปัตติ,            ขอให้การปฏิบัตินั้นๆ ของเรา
อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ                 จงเป็นไปเพื่ออันทำที่สุด
อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุฯ                              แห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ เทอญ
14-8-55

ไม่มีความคิดเห็น: