องค์ฌาน Jhāna
ตอนนี้จะได้รวบรัดวิธีปฏิบัติอานาปาฯให้เป็น Now we will summarize the methods of breath
meditation
องค์ฌานขึ้นตามหลักเกณฑ์
ดังต่อไปนี้ under
the heading of jhāna
(๑)“ฌาน”
ฌานแปลว่า ความเพ่งอยู่ในอารมณ์ Jhāna means to be absorbed or
focused in a single object
อันเดียว
เช่น กระทำลมหายใจ ดังต่อไปนี้ or
pre-occupation, as when we deal with the breath.
เป็นตัวอย่าง E.g.—
ข้อ ๑ ปฐมฌาน มีองค์ ๕ 1
The first level of jhāna has five factors:
๑ วิตก
ให้นึกถึงลมหายใจเข้าออกจนจำได้ a.vitakka:
think of the breath until you can recognize it
ไม่เผลอ(ตรึก) clearly
without getting distracted.
๒ เอกคฺคตา
ให้ประคองจิตไว้ในลมหายใจ อย่าให้ b.Ekaggatā: Keep the mind with the
breath. Don’t let it
แส่ส่ายไปในสัญญาอารมณ์อื่น
ๆ ประคองจิตไว้ใน stray
after other objects. Watch over your thoughts so that
เรื่องลมอย่างเดียว
จนเกิดลมสบายขึ้น (จิตถึงความ they
deal only with the breath to the point where the breath
เป็นหนึ่งนิ่งอยู่กับลมหายใจ) becomes
comfortable.(the mind becomes one, at rest with
the
breath.)
๓ วิจารณ์ คือให้รู้จักขยายลมหายใจที่ได้รับความ c.vicāra|; Gaing a sense of how to let this comfortable
breath-
สบายแล้วนั้น
ให้เชื่อมกับลมส่วนอื่นในร่างกาย sensation
spread and co-ordinate with the other breath
กระจายลมออกจนทั่วถึงกัน
เมื่อร่างกายได้รับ sensation
in the body. Let these breath-sensations spread until
ประโยชน์จากลมหายใจแล้ว
ทุกขเวทนาก็สงบไป they
all merge. Once the body has been soothed by the breath,
ร่างกายเป็นไปด้วยธาตุลมที่ดี(ตรอง)
คือ เพ่งอยู่ feelings
of pain will grow calm. The body will be filled with
ในเรืองของลมอย่างเดียว good breath
energy.(The mind is focused exclusively
On
issues connected with the breath.)
คุณธรรม
๓ อย่างนี้ เข้าอยู่ในสายลมอันเดียวกัน These three qualities together must be
brought to bear on
จึงจะเป็นปฐมฌานได้
สายลมอันนี้ย่อมแล่นเข้าถึง the
same stream of breathing for the first level of jhāna
ฌาน ๔
ได้ to
arise. This stream of breathing can then take you all
the
way to the fourth level of jhāna.
๔ วิตก
เอกัคคตา วิจารณ์ สามประการนี้เป็นตัวเหตุ Vitakka, ekaggata and vicara act as the causes. When
เมือเหตุเหล่านี้ทำให้สมบูรณ์
ดังกล่าวมา ก็จะได้ the
causes have been perfected, results will appear:
รับผลเกิดขึ้น
อันเป็นองค์มรรคที่ ๔ คือ ปีติ ความ Piti:
a compelling sense of fullness and refreshment
อิ่มกายอิ่มใจก็เกิดขึ้นดุดดื่มปลาบปลื้มปราโมทย์
for body
and mind, going straight to the heart, independent
อยู่โดยลำพังกายและจิต to all else.
๕ สุข
ความสบายกาย เกิดจากกายสงบ กายไม่ Sukkha:
physical pleasure arising from the body’s being
กระสับกระส่าย
(กายปัสสัทธิ) ใจสบาย ใจไม่ still
and unperturbed (kāya-passaddhi); mental pleasur e
กระสับกระส่าย
มีความสบายรื่นเริง อยู่โดยลำพังไม่ arising
from the mind’s being at ease on its own, unperturbed,
วอกแวก
(จิตปัสสัทธิ) serene
and exultant(citta-passaddhi).
ปีติ
สุข สองอย่างนี้เป็นส่วนผล ปฐมฌานที่อธิบายมา Pīti and sukkha, then are the results. The factors
of the first
นี้ก็มีเหตุอย่างหนึ่ง
ผลอย่างหนึ่ง เท่านั้น level of jhāna thus come down simply to
two sorts: cause
and result.
เมือปีติและสุขมีกำลังมากขึ้น
ความละเอียด เพราะอาศัย As pīti and sukkha grow
stronger, the breath becomes
ความเพ่งนานเข้า
ผลก็แรงขึ้น จึงเป็นเหตุให้ละวาง more
subtle. I.e. the longer you stay focused and absorbed,
วิตกวิจารณ์อันเป็นงานเบื้องต้นเสียได้
อาศัยเหตุ the
more powerful the results become. This enables you to set
อันเดียวคือ
เอกัคคตารมณ์ก็เข้าสู่ทุติยฌาน vitakka
and vicāra(the preliminary ground-clearing) aside
(มรรคจิต
ผลจิต) and—relying
completely on one factor, ekaggatā—you
enter the second level of jhāna (magga-citta,phala-citta).
ข้อ ๒ ทุติยฌาน มีองค์ ๓
คือ The
second level of jhāna has three factors:
๑ ปีติ pīti: Rapture: a compelling
sense of fullness and refreshment
for body and mind,
๒ สุข sukkha:
happiness: physical pleasure
๓
เอกัคคตา(มรรคจิต) Ekaggatā: one-pointedness of mind(magga-citta)
ได้แก่จิตที่เสวยผลมาจากปฐมฌาน
ถ้าเข้าถึงทุติยฌาน This refers to the state
of mind which has tasted the results
ปีติก็มีกำลังแรงขึ้นอีก
สุขก็มีกำลังแรงขึ้นอีก เพราะ coming
from the first level of jhāna. Once you have entered
อาศัยความเพ่งอยู่ในเหตุอันเดียว
คือ เอกัคคตารมณ์ the
second level, pīti and sukkha become stronger because
เป็นผู้ดูงานต่อไป
เพ่งลมหายใจละเอียดเข้า นิ่งอยู่ they
rely on a single cause, ekaggatā, which looks after
ด้วยความอิ่มกายอิ่มใจ
สุขกาย สุขจิต ใจแน่แน่วมั่นคง the
work from here on in: focusing on the breath so that it
ลงไปอีกกว่าเดิม
เพ่งไปนานๆ ปีติและสุขก็จะมีกำลัง becomes
more and more refined, keeping steady and still
แล้วแสดงลักษณะอาการขยายตัวเข้าขยายตัวออก with a sense of refershment and pleasure
for both body and
เอกัคคตารมณ์
ก็เพ่งลงไปอีก ขยับจิตลงไปอีกให้ละเอียด mind. The mind is even more stable and intent than
before.
จนพ้นจากลักษณะแห่งความไหวตัวของปีติและสุข As you continue focusing, piti and sukkha become stronger
แล้วจะเข้าถึงตติยฌานต่อไป and
being to expand and contract. Continue focusing on the
breath, moving the mind
deeper to a more subtle level so as
to escape the motions of pīti andsukkha, and you enter
the
third level of jhāna.
ข้อ ๓ ตติยฌาน มีองค์ ๒ คือ The
third level of jhāna has two factors:
๑สุข
1 sukkha
๒
เอกัคคตา 2
ekaggatā
กายมีความสงบสงัด
พ้นจากการไหวตัวเป็นวิเวก ไม่มี the
body is quiet, motionless and solitary. No feelings
เวทนาอันใดมารบกวน
จิตก็เงียบสงัดเป็นจิตวิเวก ลมก็ of
pain arise to disturb it. The mind is solitary and still.
ละเอียดกว้างขวาง
ปลอดโปร่ง มีรัศมีสีขาว ซาบซ่าน The
breath is refined, free-flowing and broad. A radiance--
ไปทั่วสรรพางค์กายคล้ายสำลี
ระงับทุกข์เวทนาร่างกาย white
like cotton wool—pervades the entire body, stilling all
ได้หมด
ระงับเวทนาของดวงจิตได้หมด จดจ้องประคอง feelings of physical and mental pain. Keep focused on
looking
ไว้แต่ลมอันละเอียดและกว้างขวาง
ดวงจิตมีอิสระ after
nothing but the broad, refined breath. The mind is free:
ไม่มีอารมณ์สัญญาอดีตอนาคตมาแทรก
ดวงใจก็โพลง No
thoughts of past or future disturb it. The mind stands out
อยู่ตามลำพัง ธรรมธาตุทั้ง ๔ คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ on its own. The four
properties—earth, water, fire and wind--
เป็นสามัคคีกันทุกส่วน
เกือบจะเรียกได้ว่า บริสุทธิ์ --
are in harmony throughout the body. You could
almost say
ทังก้อนกายก็ได้
เพราะลมมีกำลังควบคุมปรนปรือธาตุ that
they are pure throughout the entire body, because the
อย่างอื่นให้สามัคคีกันเป็นอย่างดี
สติก็คุมอยู่กับ breath
has the strength to control and care for the other
เอกัคคตา
อันเป็นตัวเหตุ ลมเต็มกาย สติเต็มกาย properties well, keeping them
harmonious. Mindfulness is
เพ่งลงไปจิตก็แจ่มใส
ร่างกายก็เบา ใจมีกำลังกล้า coupled
with ekaggatā, which acts as the cause. The breath
เวทนา
คือ สุข ก็สงบ กายก็สม่ำเสมอ ไม่มีความ fills the body. Mindfulness fills the body. Focus on
in:
พลั้งเผลอใดๆ
เข้าแทรกเป็นเหตุให้ปล่อยวางความ The
mind is bright and powerful. The body is buoyant.
สุข
อาการของความสุขสงบ เพราะอาศัยธาตุทั้ง Feelings of pleasure are still. The sense of the
body feels
๔เสมอกัน
ไม่มีลักษณะอาการเคลื่อนไหวตัว constant
and even, with no slips or gaps in your awareness,
ตัวเหตุเอกัคคตาก็มีกำลัง
เพ่งหนักลงไปก็ได้เข้า and
thus you can let go of your sense of pleasure. The
สู่จตุตถฌาน
ต่อไป manifestations
of pleasure grow still, because the four
properties are balanced
and free from motion. Ekaggatā,
the cause, has the
strength to focus more heavily down,
leading you to the fourth
level of jhāna.
ข้อ ๔ จตุตถฌาน มีองค์ ๒
คือ The
fourth level of jhāna has two factors:
๑
อุเบกขา 1
Upekkhā (equanimity)
๒
เอกัคคตา (สติ) 2
Ekaggatā, or mindfulness
อุเบกขากับเอกัคคตาในฌาน
๔ นี้ มีความเพ่งอย่าง Upekkhā and ekaggatā on the fourth level of jhāna are
แข็งแรงเหนียวแน่นมั่นคง
ธาตุลมสงบไม่มีอาการ powerfully
focused—solid, stable and sure. The breath
กระเพื่อมกระฉอกได้เลย
จิตวางเฉยหมด อารมณ์ element
is absolutely quiet, free from ripples and gaps.
อดีตอนาคต
ธาตุลมอันเป็นส่วนปัจจุบันก็เงียบเฉย The
mind, neutral and still, lets go of all pre-occupations
เปรียบเหมือนทะเลหรืออากาศทีปราศจากคลื่น with past and future. The breath, which forms the
present,
รบกวน
รูปและเสียงย่อมแลเห็น และรู้ได้ในทางไกล is still, like the ocean or the air when they are free from
เพราะอาศัยธาตุลมซึ่งไม่มีอาการกระเพื่อมเคลื่อนไหว current or waves. You can know distant sights and sounds,
ตัว
เปรียบเหมือนจอหนังคอยรับรูปภาพที่ฉายออกมา because the breath is even and unwavering, and so acts like
ให้แลเห็นและรู้เรืองของภาพนั้นๆ
เป็นอย่างดี มีวิชา a
movie screen which gives a clear reflection of whatever
ความรู้เกิดขึ้นในดวงจิต
รู้แล้วก็แฉยอยู่ จิตก็เฉย is
projected onto it. Knowledge arises in the mind: You
ลมก็เฉย
เฉยไปได้ทั้ง ๓ กาล นั้นแหละเรียกว่า know, but stay neutral and still. The mind is
neutral and
เอกัคคตารมณ์
เพ่งอยู่ในความเฉยความเงียบของลม still:
this is true’ singleness of pre-occupations’
ลมทุกส่วนของร่างกายย่อมแล่นถึงกัน
สามารถ (ekaggatārammaṇa), focused on the stillness
of the breath.
ทีจะหายใจได้ทุกขุมขน
คือ ไม่ต้องใช้หายใจทางจมูก All
aspects of the breath in the body flow together so that
เพราะลมหายใจกับลมส่วนอื่นเป็นพื้นดัยวกันหมด you can breathe through every pore. I.e. you don’t have
ลมเต็ม
ลมเสมอกัน ธาตุทั้ง ๔ มีลักษณะอย่างเดียว to breathe through the nostrils because the in-and-out
breath
หมด and
the other aspects of the breath energy are even and full.
The four properties all
have the same characteristics. The
mind is completely still.
จิตสงบเต็มที่
ความเพ่งก็แรง แสงก็แจ่ม เป็น The
focus is strong; the light, aglow.
มหาสติปัฏฐาน
ดวงจิตก็เบิกบานแจ่มใส เหมือนแสงไฟ This
is to know the great frame of reference.
หรือแสงอาทิตย์ซึ่งไม่มีเครื่องปิดบัง
ย่อมลุกโพลง The
mind is beaming and bright--
ส่องโลกให้สว่างไสว
อาทิตย์ซึ่งไม่มีเครื่องปิดบัง Like
the light of the sun,
ย่อมลุกโพลงส่องโลกให้สว่างไสว
ฉะนั้น Which
unobstructed by clouds or haze
จิตดวงนี้ย่อมมีรัศมีอย่างบริบูรณ์
เพราะอาศัยความเพ่ง Illumines
the earth with its rays.
แห่งสติ
ความเพ่งก็แรง แสงก็แจ่ม ดวงจิตก็มีอำนาจ The mind sheds light in all directions. The breath is
radiant,
คุณธรรม
๔ ประการเข้าสันนิบาตทั้งหมด คือ the
mind is fully radiant, due to the focusing of mindfulness.
สติปัฏฐานทั้ง
๔ ไม่มีอาการว่านั่น กาย เวทนา The
focus is strong; the light ,aglow…
จิต
ธรรม ความเห็นที่ว่า ๔ นั้นย่อมไม่มี จึงเรียก The mind has power and authority. All
four of the frames
ได้ว่า
มหาสติปัฏฐาน เพราะธรรมทั้ง ๔ ประการ of
reference are gathered into one. I.e. there is no sense that,
ไม่แตกแยกกัน ‘that’s
the body,’ ‘that’s a feeling,’’ That’s the mind,’ ‘
‘That’s a mental
quality.’ There’s no sense that they’re
four. Thus, this is
called the great frame of reference,
because none of the four
are in any way separate.
ใจตั้งมั่นไม่หวั่นไหว
อาศัยความเพ่งอย่างแรง The
mind is firmly intent, Centered and true, Due to the strength of its focus.
สติสัมปชัญญะก็รวมเข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
เป็น Mindfulness and self-awareness
coalesce into one: This is
สามัคคีธรรมโดยสมบูรณ์
ที่เรียกว่า เอกายมรรค คือ what
is meant by the one path(ekāyana-magga)—the
๔ใน ๑
จึงเป็นเหตุให้เกิดมีกำลังกล้า เป็นชาคริยานุโยค concord among the properties and frames of reference,
องค์ตปธรรม
กำจัดความมืดมิดปิดบังได้เป็นอย่างดี four
in one, giving rise to great energy, termed
แสงสว่างของดวงจิต
เมื่อเพ่งแรงเข้าอำนาจอันเกิดขึ้น jāgariyānuyoga, the purifying inner
fire (tapas) which
จากการปล่อยวางอารมณ์ต่างๆ
ดวงจิตก็มีกำลังตั้งอยู่ can
thoroughly dispel all concealing darkness.
โดยลำพัง
เหมือนบุคคลที่ขึ้นไปอยู่บนยอดภูเขา As
you focus more strongly on the radiance of the mind,
ย่อมมีสิทธิอำนาจแลเห็นได้ในทิศต่างๆ
ทั่วไป เครื่อง the
power that comes from letting to of all pre-occupations
อาศัยก็สูง
คือธาตุลมเป็นเครื่องสนับสนุนให้เด่นเป็น enables the mind to stand alone. You are like a person
อิสระ who
has climbed to the top of a mountain and thus has
ฉะนั้น
ดวงจิตนั้นจึงสามารถจะมองเห็นสถานที่ต่างๆ the right to see in all directions. The mind’s dwelling--
ธาตุ
ขันธ์ อายตนะ ที่เรียกว่าสังขารธรรมทั้งปวง the breath, which supports the mind’s
freedom—is exalted,
ได้เป็นอย่างดี
เปรียบเหมือนบุคคลที่เอากล้องขึ้นไป so
the mind is able to see all things fashioned ( saṅkhārā)
ถ่ายพื้นโลกบนอากาศ
สามารถทีจะดึงดูดเอาภาพต่างๆ clearly
in terms of the dhamma, i.e. as elements, khandha,
ในพื้นโลกส่วนมากฉันใด
ใจของบุคคลทีเข้าถึงลักษณะ senses
and sense objects. Just as a person who has taken
อย่างนี้
ย่อมรู้เห็นความเป็นจริงของโลก และธรรม a camera up in an airplane can take pictures of practically
ได้เป็นอย่างดี
(โลกวิทู)จะเกิดมีวิชาขึ้นอย่างหนึ่งใน everything below, so a person who has reached this stage
ทางจิต
ที่เรียกว่า วิปัสสนา หรือ วิชชา วิมุติ เหล่านี้ can see the world and the dhamma as they truly are(lokavidū).
เป็นต้น
ธาตุทั้ง ๔ เป็นธาตุกายสิทธิ์ ดวงจิตเป็น In addition,
awareness of another sort, in the area of the
จิตตานุภาพ mind—called
liberating insight, or the skill of release--
เมื่อประสงค์ปรารถนาส่วนใดส่วนหนึ่ง
อันเป็นส่วน also
arises. The elements or properties of the body acquire
ของธรรมและโลก
ก็ให้ขยับจิตเพ่งลมให้หนักแรง potency(kāya-siddhi); the mind, resiliant
power.When you
กำลังจิตเข้าไปจ่อในธาตุอันบริสุทธิ์
ก็จะมีญาณผุดขึ้น want
knowledge of the world or the dhamma, focus the
ในธาตุนั้น
เปรียบเหมือนเข็มของจานเสียงซึ่งจดจ่อ mind heavily and forcefully on the breath. As the
ลงไปย่อมเกิดเสียงของมนุษย์และสัตว์ปรากฏขึ้น concentrated power of the mind strikes
the pure element,
ในที่นั้น
ฉันใด intuitive
knowledge will spring up in that element, just as
สติของเราจดจ่อเพ่งเล็งลงในอารมณ์อันสะอาด
the
needle of a record player, as it strikes a record, will give
ต้องการรูปก็จะปรากฏรูป
ต้องการเสียงก็จะปรากฏ rise
to sounds. When your mindfulness is focused on a pure
เสียง
ไม่ว่าใกล้หรือไกลย่อมรู้ได้ทั้งเรืองโลกและ object, if you want images, images will
appear; if sounds,
เรื่องธรรม
เรื่องตนและคนอื่น สุดแท้แต่เราประสงค์ sounds will arise, whether near of far, matters of the world
เรื่องใด
จดจ่อลงไปก็ให้นึกขึ้น จะปรากฏได้ทันที or the dhamma, concerning yourself or concerning others,
past,
ฉันนั้น present
or future—whatever you want to know. As you
นี่แหละเรียกว่าญาณ
รู้ได้ในอดีตและอนาคตพร้อม focus
down, think of what you want to know,
and it will
ด้วยปัจจุบัน
จึงเป็นวิชาสำคัญอันหนึ่งเรียกว่า appear.
This is nana—intuitive sensitivity, and important
ปัตจัตตัง
รู้ได้เฉพาะตน ธาตุนั้นเปรียบเหมือนกระแส level of awareness which only you can know for yourself.
ไฟที่แล่นอยู่ในอากาศ
สติและจิตมีกำลังกล้า มีวิชา The
elements are like radio waves going through the air.
ความรู้สูง
สามารถทีจะทำให้ธาตุนั้นเป็นสือสาร If
your mind and mindfulness are strong, and if you are skilled,
สัมพันธ์ทั่วไปในโลก
เป็นทางให้เกิดความรู้วิชา you
can use those elements ton put yourself in touch with
ขึ้นในตัวเองได้เป็นอย่างดี the entire world,
so that knowledge can arise within you.