วันพฤหัสบดีที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2555

สติปัฏฐานปาฐะ ๓


๘.  กถัญจะ ภิกขุ ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี             ก็ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย
วิหะระติ                                                           เนื่องๆ อยู่อย่างไร
อิธะ ภิกขุ อัชฌัตตัง วา ธัมเมสุ                         ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมพิจารณาเห็นธรรมใน
ธัมมานุปัสสี วิหะระติ                                      ธรรมทั้งหลาย เป็นภายในบ้าง
พะหิทธา วา ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี วิหะระติ      ย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลายเป็นภายนอกบ้าง
อัชฌัตตะพะหิทธา วา ธัมเมสุ                          ย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลายทั้ง
ธัมมานุปัสสี วิหะระติ                                      ภายในทั้งภายนอกบ้าง
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา ธัมเมสุ วิหะระติ     ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือ ความเกิดขึ้นใน
ธรรมทั้งหลายบ้าง
วะยะธัมมานุปัสสี วา ธัมเมสุ วิหะระติ             ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือความเสื่อมไป
ในธรรมทั้งหลายบ้าง
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา ธัมเมสุ           ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาทั้งความเกิดขึ้น ทั้ง
วิหะระติ                                                           ความเสื่อมไปในธรรมทั้งหลายบ้าง
อัตถิ ธัมมาติ วา ปะนัสสะ สะติ                        ก็หรือว่า ความระลึกว่า
ปัจจุปัฏฐิตา โหติ                                             ธรรมทั้งหลายมีอยู่
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ                               ย่อมปรากฏอยู่ต่อหน้าเธอ
ปะฏัสสะติมัตตายะ                                          เพียงสักว่ารู้ เพียงสักว่า
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ                                    เป็นที่อาศัยระลึกเท่านั้น
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ                            เธอย่อมไม่ติดอยู่ และย่อมไม่ยึดมั่นถือมั่นสิงไรๆ ในโลก
เอวัง โข ภิกขุ  ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี วิหะระติ    ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย
เนืองๆ อยู่อย่างนี้แล
อะยัง โข เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา                 หนทางสายนี้แหละ เป็นหนทางสายเอก ซึ่งพระ
ปัสสะตา อะระหะตา สัมมาสัมพุทเธนะ           ผู้มีพระภาคผู้ทรงรู้แจ้งเห็นจริง อรหันต
เอกายะโน มัคโค สัมมะทักขาโต                       สัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ตรัสไว้โดยชอบ
สัตตานัง วิสุทธิยา                                           เพื่อความหมดจดวิเศษของสัตว์ทั้งหลาย
โสกะปะริเทวานัง สะมะติกกะมายะ                 เพื่อความก้าวล่วงความเศร้าโศกและความคร่ำ
ทุกขะโทมะนัสสานัง อัตถังคะมายะ                ครวญพิไรรำพัน เพื่อความอัศดงค์ดับไปแห่ง
ญายัสสะ อะธิคะมายะ                                     ทุกข์และโทมนัส เพื่อบรรลุญายธรรม เพื่อ
นิพพานัสสะ สัจฉิกิริยายะ                               กระทำพระนิพพานให้แจ้ง
ยะทิทัง จัตตาโร สติปัฏฐานาติ                                    หนทางที่กล่าวถึงซึ่งเป็นหนทางสายเอกนี้
ก็คือ สติปัฏฐาน
เอกายะนัง ชาติขะยันตะทัสสี                          พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้เล็งเห็นพระนิพพาน ผู้ทรง
มัคคัง ปะชานาติ หิตานุกัมปี                           อนุเคราะห์หมู่สัตว์ด้วยประโยชน์เกื้อกูล ย่อม
เอเตนะ มัคเคนะ ตะริงสุ ปุพเพ                        ทรงรู้แจ้งซึ่งหนทางสายเอก ในอดีต อนาคต
ตะริสสะเร เจวะ ตะรันติ โจฆันติ                     หรือแม้กระทั่งในปัจจุบัน สัตว์ทั้งหลายล้วน
ใช้หนทางสายเอกนั้นข้ามห้วงน้ำคือกิเลส

สติปัฏฐษฯ)ษฐะ๒


. กะถัญจะ ภิกขุ เวทะนาสื                             ก็ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา
เวทะนานุปัสสี วิหะระติ                                   ทั้งหลายอยู่เนืองๆ อย่างไรเล่า
อิธะ ภิกขุ อัชฌัตตั้ง วา เวทะนาสุ                    ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ ย่อมพิจารณาเห็น
เวทะนานุปัสสี วิหะระติ                                   เวทนาในเวทนาทั้งหลายเป็นภายในบ้าง
พะหิทธา วา เวทะนาสุ เวทะนานุปัสสี             ย่อมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลาย
วิหะระติ                                                           เป็นภายนอกบ้าง
อัชฌัตตะพะหิทธา วา เวทะนาสุ                      ย่อมพิจารณาเห็นเวทนาทั้งหลาย
เวทะนานุปัสสี วิหะระติ                                   ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา  เวทะนาสุ               ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือความเกิดขึ้น
วิหะระติ                                                           ในเวทนาทั้งหลายบ้าง
วะยะธัมมานุปัสสีวา เวทนาสุ วิหะระติ            ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือความเสื่อมไปแห่ง
สุมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา                         เวทนาบ้างย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาทั้งความเกิดขึ้นทั้ง
เวทะนาสุ วิหะระติ                                           ความเสื่อมไปแห่งเวทนาบ้าง
อัตถิ เวทะนาติ วา ปะนัสสะ                            ก็หรือความระลึกว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะ
สติปัฏจุปัฏฐิตา โหติ                                        หน้าแก่เธอนั้น
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ                               แค่เพียงสักว่าเป็นที่รู้ แค่เพียงสักว่า
ปะฏิสสะติมัตตายะ                                         เป็นที่อาสัยระลึก
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ                                    เธอย่อมไม่ติดอยู่และ
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ                            ย่อมไม่ยึดมั่นถือมั่นอะไรๆ ในโลก
เอวัง โข ภิกขุ เวทะนาสุ เวทะนานุปัสสิ           ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลาย
วิหะระติ                                                           อยู่เนืองๆ อย่างนี้ แล
. กะถัญจะ ภิกขุ จิตเต จิตตานุปัสสี               ก็ภิกษุพิจารณาเห็นจิตในจิตเนืองๆ
วิหะระติ                                                           อยู่เป็นอย่างไร
อิธะ ภิกขุ อัชฌัตตัง วา จิตเต จิตตานุปัสสี       ภิกษุโนธรรมวินัยนี้ ย่อมพิจารณาเห็นจิต
วิหะระติ                                                           ในจิตเป็นภายในบ้าง
พะหิทธา วา จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ        ย่อมพิจารณาเห็นจิตในจิตเป็นภายนอกบ้าง
อัชฌัตตะพะหิทธา วา จิตเต                            ย่อมพิจารณาเห็นจิตในจิตทั้งเป็นภายใน
จิตตานุปัสสี วิหะระติ                                      ทั้งเป็นภายนอกบ้าง
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา จิตตัสมิง วิหะระติ  ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือ ความเกิดขึ้นในจิตบ้าง
วะยะธัมมานุปัสสีวา จิตตัสมิง วิหะระติ          ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือความเสื่อมไปในจิตบ้าง
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา จิตตัสมิง        ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาทั้งความเกิดขึ้น
วิหะระติ                                                           ทั้งความเสื่อมไปในจิตบ้าง
อัตถิ จิตตันติ วา ปะนัสสะ สะติ                       ก็หรือว่า ความระลึกว่า มีจิตๆ ย่อมปรากฏอยู่
ปัจจุปัฏฐิตา โหติ                                             เฉพาะหน้าเธอนั่น
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ                               เพียงแต่สักรู้ว่า เพียงแต่สักว่า
 ปะฏิสสะติมัตตายะ                                         เป็นที่อาศัยระลึก
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ                                    เธอย่อมไม่ติดอยู่
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ                            และย่อมไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก
เอวัง โข ภิกขุ จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ       ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่เนืองๆ อย่างนี้แล