วันเสาร์ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2555

เทวตาทิสสทักขิณานุโมทนา


เทวตาทิสสทักขิณานุโมทนา

ยัสมิง ปะเทเส กัปเปติ                                      บัณฑิตชาติ สำเร็จการอยู่ในประเทศสถานที่ใด
วาสัง ปัณฑิตะชาติโย                                      พึงเชิญเหล่าท่านที่มีศีลสำรวมระวัง ประพฤติ
สีละวันเตตถะ โภเชตวา                                   พรหมจรรย์ เลี้ยงดูกันในที่นั้น
สัญญะเต พฺรหฺมจาริโน                                    เทพดาเหล่าใด มีในที่นั้น
ยา ตัตถะ เทวะตา อาสุง                                   ควรอุทิศทักษิณาทานเพื่อเทวดาเหล่านั้นด้วย
ตาสัง ทักขิณะมาทิเส                                       เทพดาที่ได้บูชาแล้ว ท่านย่อมบูชาบ้าง
ตา ปูชิตา ปูชะยันติ                                          ที่ได้นับถือแล้ว ย่อมนับถือบ้าง
มานิตา มานะยันติ นัง                                      แต่นั้น ท่านย่อมอนุเคราะห์เขา
ตะโต นัง อนุกัมปันติ                                       ประหนึ่งมารดา
มาตา ปุตตังวะ โอระสัง                                   อนุเคราะห์บุตรผู้เกิดจากอก
เทวะตานุกัมปิโต โปโส                                                บุรุษได้อาศัยเทพดาอนุเคราะห์แล้ว
สทา ภัทรานิ ปัสสะติ                                       ย่อมเห็นกิจการอันเจริญทุกเมื่อ

ภารสุตตคาถา


ภารสุตตคาถา
ภารา หะเว ปัญจักขันธา.                                 ขันธ์ทั้ง ๕ เป็นของหนักหนอ
ภาระหาโร จะ ปุคคะโล                                    บุคคลนั้นแหละ เป็นผู้แบกของหนักพาไป
ภาราทานัง ทุกขัง โลเก                                                การแบกถือของหนัก เป็นความทุกข์ในโลก
ภาระนิกเขปะนัง สุขัง                                      การสลัดของหนัก ทิ้งลงเสีย เป็นความสุข
นิกจิปิตฺวา คะรุง ภารัง                                     พระอริยเจ้า สลัดทิ้งของหนัก ลงเสียแล้ว
อัญญัง ภารัง อะนาทิยะ                                   ทั้งไม่หยิบฉวยเอาของหนักอันอี่นขึ้นมาอีก
สะมูลัง ตัณหัง อัพพฺยฺหะ                                 ก็เป็นผู้ถอนตัณหาขึ้นได้ กระทั่งราก
นิจฉาโต ปะรินิพพุโต                                      เป็นผู้หมดสิ่งปรารถนา ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือ

วิหารคาถา


วิหารคาถา
สีตัง อุณหัง ปะฏิหันติ                                     เสนาสนะย่อมป้องกันเย็นร้อน
ตโต วาฬะมิคานิ จะ                                        และเนื้อร้าย
สิริสะเป จาปิ มะกะเส                                      งูและยุง
สิริเร จาปิ วุฏฐิโย                                             ฝนที่ตั้งขึ้นในสิริรฤดู
ตโต วาตาตะโป โฆโร                                       แต่นั้นลมและแดดอันกล้า
สัญชาโต ปฏิหัญญะติ                                      เกิดแล้วย่อมบรรเทาไป
เลณัตถัญจะ สุขัตถัญจะ                                   การถวายวิหารแก่สงฆ์ เพื่อเร้นอยู่
ฌายิตุง จะ วิปัสสิตุง                                        เพื่อเพ่งพิจารณา และเพื่อเห็นแจ้ง
วิหาระทานัง สังฆัสสะ                                     พระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญ
อัคคัง พุทเธหิ วัณณิตัง                                                ว่าเป็นทานอันเลิศ
ตัสมา หิ ปัณฑิโต โปโส                                    เพราะเหตุนั้นแล  บุรุษบัณฑิตเมื่อเล็งเห็นประโยชน์
สัมปัสสัง อัตถะมัตตะโน                                 ตน พึงสร้างวิหารอันรื่นรมย์
วิหาเร การะเย รัมเม                                         ให้แก่ภิกษุทั้งหลาย
วาสะเยตถะ พหุสสุเต                                      ผู้เป็นพหุสูตรอยู่เถิด
เตสัง อันนัญจะ ปานัญจะ                                อนึ่ง พึงถวายข้าว น้ำ ผ้า เสนาสนะ
วัตถะเสานาสนาติ จะ                                      แก่ท่านเหล่านั้น
ทะเทยยะ อุชุภูเตสุ                                           ด้วยน้ำใจอันเลื่อมใส
วิปปะสันเนนะ เจตสา                                      ในท่านผู้ซื่อตรง
เต ตัสสะ ธัมมัง เทเสนติ                                  เขารู้ธรรมใดในโลกนี้แล้ว
สัพพะทุกขาปะนูทะนัง                                   เป็นผู้ไม่มีอาสวะปรินิพพาน
ยัง โส ธัมมะมิธัญญายะ                                   ท่านย่อมแสดงธรรมนั้น อันเป็นเครือง
ปรินิพพานตฺยะนาสะโวติ                                บรรเทาทุกข์ทั้งปวงแก่เขา ดังนี้

อาทิตตสุตตคาถา


อาทิตตสุตตคาถา
ภุตตา โภคา ภะตา ภัจจา                                  โภคะทั้งหลายเราได้บริโภคแล้ว บุคคลทั้งหลายทึ่
วิติณณา อะปะทาสุ เม                                      ควรเลี้ยง เราได้ได้เลี้ยงแล้ว
อุทธัคคา ทักขืณา ทินนา                                  อันตรายทั้งหลาย เราได้ข้ามพ้นไปแล้ว
อะโถ ปัญจะพะลี กะตา                                    ทิกษิณาที่เจริญผล เราได้ให้แล้ว
อุปัฏฐิตา สีละวันโต                                         อนึ่ง พลี เราได้ทำแล้ว
สัญญตา พฺรหฺมจาริโน                                     ท่านผู้มีศีลสำรวมแล้ว ประพฤติพรหมจรรย์
เราได้บำรุงแล้ว
ยทัตถัง โภคะมิจเฉยยะ                                    บัณฑิตผู้ครองเรือน ปรารถนาโภคะเพื่อประโยชน์อันใด
ปัณฑิโต ฆะระมาวะสัง                                    ประโยชน์นั้น เราได้บรรลุแล้ว
โส เม อัตโถ อะนุปปัตโต                                  กรรมไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเดือดร้อน
กะตัง อะนะนุตาปิยัง                                       ภายหลังเราได้ทำแล้ว
เอตัง อะนุสสะรัง มัจโจ                                    นรชนผู้จะต้องตาย เมื่อตามระลึกถึงคุณข้อนี้อยู่
อะริยะธีมเม ฐิโต นะโร                         ย่อมเป็นผู้ตั้งอยู่ในอริยธรรม
อิเธวะ นัง ปะสังสันติ                                       เทพดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมสรรเสริญนรชนนั้น
เปจจะ สัคเค ปะโมทะตีติ.                                ในโลกนี้ นรชนนั้น ละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมบันเทิงใน
สวรรค์ ดังนี้แล

สัพพะโรคะวินิมุตโต


สัพพะโรคะวินิมุตโต
สัพพะโรคะวินิมุตโต                                        ท่านจงเป็นผู้พ้นจากโรคทั้งปวง
สัพพะสันตาปะวัชชิโต                                                จงว่างเว้นจากความเดือดร้อนทั้งปวง
สัพพะเวระมะติกันโต                                      จงล่วงเสียซึ่งเวรทั้งปวง
นิพพุโจ จะ ตุวัง ภะวะ                                     จงถึงความดับไปซึ่งทุกข์ทั้งปวงแห่งท่านทั้งหลาย
 (ต่อด้วย สัพพี ตีโย......)

โภชนานุโมทนาคาถา


โภชนานุโมทนาคาถา
อายุโท พะละโท ธีโร                                        ท่านผู้มีปัญญา ได้ให้อายุ
วัณณะโท ปฏิภาณะโท,                                    ให้วรรณะ ให้ปฏิภาณ,
สุขัสสะ ทาตา เมธาวี                                        ผู้มีปัญญา ให้ความสุข 
สุขัง โส อธิคัจฉะติ.                                          ท่านย่อมประสพสุข.
อายุง ทัตฺวา พะลังวัณณัง                                 บุคคลผู้ให้อายุ พละ วรรณะ
สุขัญจะ  ปฏิภาณะโท,                                     และปฏิภาณ อย่างมีความสุข  
ฑีฆายุ ยะสะวา โหติ                                        จะไปเกิดในที่ใดๆ ย่อมมีอายุยืน มียศที่นั้น
ยัตถะ ยัตถู ปปัชชะตีติ.                                  จงสำเร็จสมประสงค์ ดังนี้แล.