๖. กะถัญจะ ภิกขุ เวทะนาสื ก็ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา
เวทะนานุปัสสี วิหะระติ ทั้งหลายอยู่เนืองๆ อย่างไรเล่า
อิธะ ภิกขุ อัชฌัตตั้ง วา เวทะนาสุ ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ ย่อมพิจารณาเห็น
เวทะนานุปัสสี วิหะระติ เวทนาในเวทนาทั้งหลายเป็นภายในบ้าง
พะหิทธา วา เวทะนาสุ เวทะนานุปัสสี ย่อมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลาย
วิหะระติ เป็นภายนอกบ้าง
อัชฌัตตะพะหิทธา วา เวทะนาสุ ย่อมพิจารณาเห็นเวทนาทั้งหลาย
เวทะนานุปัสสี วิหะระติ ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา เวทะนาสุ ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือความเกิดขึ้น
วิหะระติ ในเวทนาทั้งหลายบ้าง
วะยะธัมมานุปัสสีวา เวทนาสุ วิหะระติ ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือความเสื่อมไปแห่ง
สุมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา เวทนาบ้างย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาทั้งความเกิดขึ้นทั้ง
เวทะนาสุ วิหะระติ ความเสื่อมไปแห่งเวทนาบ้าง
อัตถิ เวทะนาติ วา ปะนัสสะ ก็หรือความระลึกว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะ
สติปัฏจุปัฏฐิตา โหติ หน้าแก่เธอนั้น
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ แค่เพียงสักว่าเป็นที่รู้ แค่เพียงสักว่า
ปะฏิสสะติมัตตายะ เป็นที่อาสัยระลึก
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ เธอย่อมไม่ติดอยู่และ
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ ย่อมไม่ยึดมั่นถือมั่นอะไรๆ ในโลก
เอวัง โข ภิกขุ เวทะนาสุ เวทะนานุปัสสิ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลาย
วิหะระติ อยู่เนืองๆ อย่างนี้ แล
๗. กะถัญจะ ภิกขุ จิตเต จิตตานุปัสสี ก็ภิกษุพิจารณาเห็นจิตในจิตเนืองๆ
วิหะระติ อยู่เป็นอย่างไร
อิธะ ภิกขุ อัชฌัตตัง วา จิตเต จิตตานุปัสสี ภิกษุโนธรรมวินัยนี้ ย่อมพิจารณาเห็นจิต
วิหะระติ ในจิตเป็นภายในบ้าง
พะหิทธา วา จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ ย่อมพิจารณาเห็นจิตในจิตเป็นภายนอกบ้าง
อัชฌัตตะพะหิทธา วา จิตเต ย่อมพิจารณาเห็นจิตในจิตทั้งเป็นภายใน
จิตตานุปัสสี วิหะระติ ทั้งเป็นภายนอกบ้าง
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา จิตตัสมิง วิหะระติ ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือ ความเกิดขึ้นในจิตบ้าง
วะยะธัมมานุปัสสีวา จิตตัสมิง วิหะระติ ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือความเสื่อมไปในจิตบ้าง
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา จิตตัสมิง ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาทั้งความเกิดขึ้น
วิหะระติ ทั้งความเสื่อมไปในจิตบ้าง
อัตถิ จิตตันติ วา ปะนัสสะ สะติ ก็หรือว่า ความระลึกว่า มีจิตๆ ย่อมปรากฏอยู่
ปัจจุปัฏฐิตา โหติ เฉพาะหน้าเธอนั่น
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ เพียงแต่สักรู้ว่า เพียงแต่สักว่า
ปะฏิสสะติมัตตายะ เป็นที่อาศัยระลึก
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ เธอย่อมไม่ติดอยู่
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ และย่อมไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก
เอวัง โข ภิกขุ จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่เนืองๆ อย่างนี้แล
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น