ปิตา มะมะ ภันเต, ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ บิดาของข้าพระองค์
กาลัง กะโรนโต เอวัง อะวะจะ, เมื่อจะตายได้สั่งอย่างนี้ว่า
ทิสา ตาตะ นะมัสเสยยาสีติ. พ่อเอ๋ย เจ้าพึงนอบน้อมทิศทั้ง ๖ ดังนี้
โส โข อะหัง ปิตุ วะจะนัง, ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์ เมื่อจะ
สักกะโรนโต คะรุกะโรนโต, สักการะ เคารพ นับถือ บูชา
มาเนนโต ปูเชนโต, คำของบิดา
กาลัสเสวะ วุฏฐายะ, จึงลุกขึ้นแต่เช้าแล้ว
ราชะคะหา นิกฺขะมิตฺวา ออกจากกรุงราชคฤห์
อัลละวัตโถ อัลละเกโส, มีผ้านุ่งผ้าห่มเปียก มีผมเปียก
ปัญชะลิโก ปุถุททิสา นะมัสสามิ, ยกมือประคอง นอบน้อมทิศทั้ง ๖ อยุ่
ปุรัตถิมัง ทิสัง ทักขิณัง ทิสัง, ทิศเบื้องหน้า ทิศเบื้องขวา
ปัจฉิม้ง ทิสัง อุตตะรัง ทิสัง, ทิศเบื้องหลัง ทิศเบื้องซ้าย
เหฏฐิมัง ทิสัง อุปะริมัง ทิสันติ. ทิศเบื้องต่ำ ทิศเบื้องบน ดังนี้
นะ โข คะหะปะติปัตตะ ดูก่อนคฤหบดีบุตร
อะริยัสสะ วินะเย เอวัง ในวินัยของพระอริยเจ้า ทิศ ๖
ฉะ ทิสา นะมัสสิตัพพาติ, เขาไม่นอบน้อมกันอย่างนี้เลย
ยะถากะตัง ปะนะ ภันเต ก็ในวิสัยของพระอริยเจ้า
อะริยัสสะ วินะเย ทิศ ๖ เขานอบน้อมกันอย่างไร
ฉะ ทิสา นะมัสสิตัพพา. พระเจ้าข้า
สาธุ เม ภันเต ภะคะวา ดีละพระเจ้าข้า ในวิน้ยของพระอริยเจ้า
ตะถา ธัมมัง เทเสตุ ทิศ ๖ เขาน้อบน้อมกันอยางไร
ยะถา อะริยัสสะ วินะเย ขอพระผู้มีพระภาคเจ้า
ฉะ ทิสา นะมัสสติตัพพาติ. จงทรงแสดงธรรมอย่างนั้น แก่ข้าพระองค์เถิด
เตนะหิ คะหะปะติปัตตะ ดูก่อนคฤหบดีบุตร ถ้าอย่างนั้น
สุณาหิ สาธุกัง มะนะสิกะโรติ ท่านจงฟัง จงทำใจให้สำเร็จประโยชน์เภิด
ภาสิสสามิติ. เราจักกล่าว ณ บัดนี้
เอวํง ภันเต โข สิงคาลโก คะหะปะติปุตโต สิงคาลกมาณพบุตรคฤหบดีทูลรับพระผู้มี
ภะคะวะโต ปัจจัสโสสิ. พระภาคเจ้าว่าอย่างนั้น พระเจ้าข้า
ภะคะวา เอตะทะโวจะ พระผู้มีพระภาคเจ้าตร้สว่า
ยะโต โข คะหะปัตตะ ดูก่อนคฤหบดีบุตร เมื่อใดแล
อะริยะสาวะกัสสะ จัตตาโร กรรมกิเลส ๔ อย่าง
กัมมะกิเลสา ปะหีนา โหนติ อริยสาวกละได้แล้ว
จะตูหิ ฐาเนหิ อริยสาวกนั้น
ปาปะกัมมัง นะ กะโรติ ย่อมไม่ทำกรรมที่เป็นบาปด้วยสถาน ๔ อยู่
ฉะ จะ โภคานัง อะปายะมุขานิ และไม่เสพเหตุอันเป็นเครื่องฉิบหาย
นะ เสวะติ แห่งโภคสมบัติ ๖ อย่าง
โส เอวัง จุททะสะปาปะกาปะคะโต อริยสาวกนั้น หลีกไปจากกรรมอันเป็นบาป๑๔
ฉะทิสาปะฏิจฉาหี โหติ อย่างนี้แล้วเป็นผู้ปกปิดสกัดกั้นทิศทั้ง ๖ ไว้
อุโภโลกะวิชชายายะ ปะฏิปันโน โหติ เป็นผู้ปฏิบัติเพื่อความชนะในโลกทั้ง ๒
ตัสสะ อะยัญเจวะ โลโก โลกนี้และโลกหน้า
อารัทโธ โหติ ปะโร จะ โลโก. อันอริยสาวกนั้น ปรารภดีแล้ว
โส กายัสสะ เภทา ปะรัง มะระณา อริยสาวกนั้น เบื้องหน้าแต่กายแตกตายไปแล้ว
สุคะติง สัคคัง โลกัง อุปปัชชะติ. ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์.
กะตะมัสสะ จัตตาโร กัมมะกิเลสา กรรมกิเลส ๔ อย่างเหล่าไหน
ปะหีนา โหนติ อันอริยสาวกนั้นละได้แล้ว
ปาณาติปาโต โข คะหะปะติปุตตะ ดูก่อนคฤหบดีบุตร ปาณาติบาตเป็นกรรมเครื่อง
กัมมะกิเลโส เศร้าหมองอย่าง ๑
อะทินนาทานัง กัมมะกิเลโส อทินนาทาน เป็นกรรมเครื่องเศร้าหมองอย่าง ๑
กาเมสุ มิจฉาจาโร กัมมะกิเลโส กามมิจฉาจาร เป็นกรรมเครื่องเศร้าหมองอย่าง ๑
มุสาวาโท กัมมะกิเลโส มุสาวาท เป็นกรรมเครื่องเศร้าหมองอย่าง ๑
อิมัสสะ จัตตาดร กัมมะกิเลสา กรรมเครื่องเศร้าหมอง ๔ อย่างเหล่านี้แล อริยสาวก
ปะหีนา โหนตีติ. นั้นละได้แล้ว
อิทะมะโวจะ ภะคะวา พระผู้มีพระภาค ได้ตรัสคำอันเป็นไวยากรณ์นี้แล้ว
อิทัง วัตวานะ สุคะโค พระองค์ผู้พระสุคต ครั้นตรัสคำนี้แล้ว
อะถาปะรัง เอตะทะโวจะ สัตถา พระองค์ผุ้พระศาสดา จึงตรัสคาถาประพันธ์นี้ต่อไปว่า
ปาณาติปาโต ฆ่าสัตว์ ๑
อะทินนาทานัง ลักทรัพย์ ๑
มุสาวาโท ปะวุจจะติ พูดปด ๑
ปะราทาระคะมะนัญเจวะ ถึงภรรยาชายอื่น ๑
นะ ปะนังสันติ ปัณฑิตาติ. บัณฑิตไม่สรรเสริญเลย ดังนี้
กะตะเมหิ จะตูหิ ฐาเนหิ อริยสาวก ย่อมไม่ทำกรรมอันเป็นบาป
ปาปะกัมมัง นะ กะโรติ ด้วยสถาน ๔ อย่างไร
ฉันทาคะติง คัจฉันโต คนที่ถึงฉันทาคติ
ปาปะกัมมัง กะโรติ ย่อมทำกรรมอันเป็นบาปได้
โทสาคะติง คัจฉันโต คนที่ถึงโทสาคติ
ปาปะกัมมัง กะโรติ ย่อมทำกรรมที่เป็นบาปได้
โมหาคะติง คัจฉันโต คนที่ถึงโมหาคติ
ปาปะกัมมัง กะโรติ ย่อมทำกรรมที่เป็นบาปได้
ภะยาคะติง คัจฉันโต คนที่ถึงภยาคติ
ปาปะกัมมัง กะโรติ ย่อมทำกรรมที่เป็นบาปได้
ยะโต โข คะหะปะติปุตตะ ดูก่อนคฤหบดีบุตร เมื่อใดแล
อะริยะสาวะโก อริยสาวก
เนวะ ฉันทาคะติง คัจฉะติ ไม่ถึงฉันทาคติ
นะ โทสาคะติง คัจฉะติ ไม่ถึงโทสาคติ
นะ โมหาคะติง คัจฉะติ ไม่ถึงโมหาคติ
นะ ภะยาคะติง คัจฉะติ ไม่ถึงภยาคติ
อิเมหิ จะตูหิ ฐาเนหิ ปาปะกัมมัง อริยสาวกย่อมไม่ทำกรรมอันเป็นบาป
นะ กะโรตีติ. ด้วยสถาน ๔ เหล่านี้-
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น