วันเสาร์ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2555

วิปัสสนาภูมิปาฐะ


ปัญจักขันธา,                                                   ขันธ์ คื่อส่วนประกอบห้าอย่างที่รวมเข้าเป็นชีวิต
รูปักขันโธ, เวทะนากขันโธ, สังญากขันโธ,       ได้แก่ รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์
สังขารักขันโธ, วิญญาณักขันโธ,                      สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์
ทฺวาทะสายะตะนานิ ฯ.                                    อายตนะ ๑๒ คือ(ธรรมอันเป็นบ่อเกิด)
จักขฺวายะตะนัง  รูปายะตะนัง,                         อายตนะคือ ตา อายตนะคือ รูป
โสตายะตะนัง สัททายะตะนัง,                         อายตนะคือ หู อายตนะคือ เสียง
ฆานายะตะนัง คันธายะตะนัง,                         อายตนะคือ จมุก อายตนะคือ กลิ่น
ขิวหายะตะนัง ระสายะตะนัง,                          อายตนะคือ ลิ้น อายตนะคือ รส
กายายะตะนัง  โผฏฐัพพายะตะนัง.                 อายตนะคือ กาย อายตนะคือ โผฏฐัพพะ
มะนายะตะนัง  ธัมมายะตะนัง                      อายตนะคือ ใจ อายตนะคือ ธรรมารมย์           
อัฏฐาระสะ ธาตุโย                                         ธาตุ ๑๘ คือ (ธรรมที่ทรงตัวอยู่)
จักขุธาตุ รูปะธาตุ  จักชุวิญญาณะธาตุ,            ธาตุคือ ตา ธาตุคือ รูป ธาตุคือความรู้สึกทางตา
โสตะธาตุ สัททะธาตุ โสตะวิญญาณธาตุ,         ธาตุคือ หู ธาตุคือ เสียง ธาตุคือความรู้สึกทางหู
ฆานะธาตุ  คันธะธาตุ  ฆานะวิญญาณะธาตุ,               ธาตุคือ จมูก ธาตุคือ กลิ้น ธาตุคือความรู้สึกทางจมูก
ชิวหาธาตุ ระสะธาตุ ชิวหาวิญญาณะธาตุ,       ธาตุคือ ลิ้น ธาตุคือ รส ธาตุคือความรู้สึกทางลิ้น
กายะธาตุ  โผฏฐัพพะธาตุ                                ธาตุคือ กาย ธาตุคือ โผฏฐัพพะ
กายะวิญญาณะธาตุ                                       ธาตุคือความรู้สึกทางกาย
มะโนธาตุ ธัมมะธาตุ  มะโนวิญญาณะธาตุ    ธาตุคือ ใจ ธาตุคือ ธรรมารมย์ ธาตุคือความรู้สึกทางใจ
พาวีสะตินทฺริยานิ                                         อินทรีย์ ๑๒ คือ(ธรรมที่เป็นใหญ่ในการทำกิจของตน
                                                                        คือทำให้ธรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นไปตามตน
                                                                        ในกิจนั้นๆ ในขณะที่เป็นไปอยู่นั้น เรียกว่า อินทรีย์)
จักขุนทฺริยัง                                                     อินทรีย์คือจักษุ (ตา)
โสตินทฺริยัง                                                      อินทรีย์คือหู
ฆานินทฺริยัง                                                     อินทรีย์คือจมูก
ชิวหินทฺริยัง                                                     อินทรีย์คือลิ้น
กายินทฺริยัง                                                      อินทรีย์คือกาย
มะนินทฺริยัง,                                                    อินทรีย์คือใจ
อิตถินทฺริยัง                                                     อินทรีย์คือสตรี
ปุริสินทฺริยัง                                                     อินทรีย์คือบุรุษ
ชีวิตินทฺริยัง,                                                   อินทรีย์คือชีวิต
สุขินทฺริยัง                                                       อินทรีย์คือความสุข
ทุกขินทฺริยัง                                                     อินทรีย์คือความทุกข์
โสมนัสสินทฺริยัง                                              อินทรีย์คือความดีใจ
โทมะนัสสินทฺริยัง                                            อินทรีย์คือความเสียใจ
อุเปกขินทฺริยัง,                                                 อินทรีย์คือความวางเฉย
สัทธินทฺริยัง                                                     อินทรีย์คือศรัทธาความเชื่อ
วิริยินทฺริยัง                                                      อินทรีย์คือความเพียร
สะตินทฺริยัง                                                     อินทรีย์คือความระลึกได้
สะมาธินทฺริยัง                                                             อินทรีย์คือความตั้งใจมั่น
ปัญญินทฺริยัง,                                                              อินทรีย์คือปัญญา
อะนัญญะตัญญัสสามีตินทฺริยัง                        อินทรีย์ของผู้ปฏิบัติธรรม
ด้วยตั้งปณิธานว่าจักบรรลุพระนิพพาน
อิญญินทฺริยัง                                                    อินทรีย์ของผู้ดับกิเลสแล้ว แต่ยังไม่ดับขันธ์(นิพพาน)
อัญญาตาวินทฺริยัง                                         อินทรีย์ของผู้ที่ดับทั้งขันธ์ทั้งกิเลส(ปรินิพพาน)
จัตตาริ อะริยะสัจจานิ                                   อริยสัจจ์
ทุกขัง อะริยะสัจจัง,                                         ทุกขอริยสัจจ์ (สภาพที่ทนได้ยาก)
ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง,             สมุทัยคือเหตุให้ทุกข์เกิดได้แก่ตัณหา ๓
ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง,                               นิโรธคือความดับทุกข์ได้แก่ภาวะที่ตัณหาดับสิ้นไป
ทุกขะนิโรธะคามินี  ปะฏิปะทา  อะริยะสัจจัง ฯมรรคคือข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์
อะวิชชาปัจจะยา สังขารา,                               เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย สังขารจึงมี
สังขาระปัจจะยา วิญญาณัง,                            เพระสังขารเป็นปัจจัย วิญญาณจึงมี
วิญญาณะปัจจะยา  นามะรูปัง,                        เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย นามรูปจึงมี
นามะรูปะปัจจะยา   สะฬายะตะนัง,                เพราะนามรูปเป็นปัจจัย สฬายตนะจึงมี
สะฬายะตะนะปัจจะยา  ผัสโส,                        เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย ผัสสะจึงมี
ผัสสะปัจจะยา  เวทะนา,                                  เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงมี
เวทะนาปัจจะยา  ตัณหา,                                 เพราะเวทนาเป็นปัจจัย ตัณหาจึงมี
ตัณหาปัจจะยา  อุปาทานัง,                              เพราะตัณหาเป็นปัจจัย อุปาทานจึงมี
อุปาทานะปัจจะยา  ภะโว,                                เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย ภพ จึงมี
ภะวะปัจจะยา  ชาติ,                                        เพราะภพเป็นปัจจัย ชาติจึงมี
ชาติปัจจะยา  ชะรามะระณัง                            เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะจึงมี
โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสา          ความโศก ความคร่ำครวญ ทุกข์ โทมนัสและความคับ
สัมภะวันติ                                                    แค้นใจ ก็มีพร้อม
เอวะเมตัสสะเกวะลัสสะ   ทุกขักขันธัสสะ,       ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งปวงนี้จึงมีได้
สะมุทะโย  โหติ                                             ด้วยประการฉะนี้
อะวิชชายะเตฺววะ   อะเสสะวิราคะนิโรธา         เพราะอวิชชาสำรอกดับไปไม่เหลือ
สังขาระนิโรโธ,                                                สังขารจึงดับ
สังขาระนิโรธา  วิญญาณะนิโนโธ,                    เพราะสังขารดับ วิญญาณจึงดับ
วิญญาณะนิโนธา  นามะรูปะนิโรโธ,                 เพราะวิญญาณดับ นามรูปจึงดับ
นามะรูปะนิโรธา  สะฬายะตะนะนิโรโธ,          เพราะนามรูปดับ สฬายตนะ จึงดับ
สะฬายะตะนะนิโรธา  ผัสสะนิโรโธ,                เพราะสฬายตนะดับ ผัสสะ จึงดับ
ผัสสะนิโรธา  เวทะนานิโรโธ,                           เพราะผัสสะดับ เวทนาจึงดับ
เวทะนานิโรธา  ตัณหานิโรโธ,                         เพราะเวทนาดับ  ตัณหา จึงดับ
ตัณหานิโรธา  อุปาทานะนิโรโธ,                       เพราะตัณหาดับ อุปาทานจึงดับ
อุปาทานะนิโรธา  ภะวะนิโรโธ,                        เพราะอุปาทานดับ ภพจึงดับ
ภะวะนิโรธา   ชาตินิโรโธ,                                เพราะภพดับ ชาติ จึงดับ
ชาตินิโรธา  ชะรามะระณัง                               เพราะชาติดับ ชรามรณะ จึงดับ
โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสา          ความโศก ความคร่ำครวญ ทุกข์ โทมนัส
นิรุชฌันติ                                                      ความคับแค้นใจ ก็ดับ
เอวะเมตัสสะ  เกวะลัสสะ  ทุกขักขันธัสสะ,      ความดับแห่งกองทุกข์ทั้งปวงนี้
นิโรโธ โหติ                                                    ย่อมมีได้ด้วยประการฉะนี้.

ไม่มีความคิดเห็น: