กะตะโม จะ ภิกขะเว สัมมาสมาธิ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัมมาสมาธิ
(ความตั้งจิตมั่นชอบ) เป็นอย่างไร?
อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้
วิวิจเจวะ กาเมหิ วิวิจจะ อะกุสะเลหิ ธัมเมหิ สงัดแล้วจากกามารมณ์ สงัดแล้วจากธรรมที่เป็นอกุศล
สะวิตักกัง สะวิจารัง เข้าถึงปฐมฌาน ( ความเพ่งที่ ๑)
วิเวกะชัมปีติสุขัง ปะฐะมัง นัง ประกอบด้วยวิตกและวิจาร มีปีติและสุข
อุปะสัมปัชชะ วิหะระติ อันเกิดจากวิเวก
วิตักกะวิจารานัง วูปะสะมา เพราะความที่วิตกและวิจาร(ทั้ง ๒ ) ระงับลง
อัชฌัตตัง สัมปะสาทะนัง เจตะโส เข้าถึงทุติยะฌาน ( ความเพ่งที่ ๒)
เอโกทิภาวัง อะวิตักกัง อะวิจารัง เป็นเครื่องผ่องใสใจ ณ ภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอก
สะมิชัมปีติ สุขัง ทุติยัง ฌานัง ผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร
อุปะสัมปัชชะ วิหะระติ มีแต่ปีติและสุขอันเกิดจากสมาธิ
ปีติยา จะ วิราคา อนึ่ง เพราะความที่ปีติวิราศ( ปราศ) ไป
อุเปกขะโก จะ วิหะระติ สะโต จะ ย่อมเป็นผู้เพิกเฉยอยู่ และมีสติสัมปชัญญะ
สัมปะชาโนสุขัญจะ กาเยนะ ปะฏิสังเวเทติ และเสวยสุขด้วยกาย
ยันตัง อะริยา อาจิกขันติ อาศัยคุณคืออุเบกขา สติ สัมปะชัญญะ และเสวยสุข
อุเปกขะโก สะติมา สุขะวิหารีติ อันใดเล่าเป็นเหตุ พระอริยเจ้าทั้งหลายย่อม
กล่าวสรรเสริญผู้นั้น ว่าเป็นผู้อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข
ตติยัง ฌานัง อุปะสัมปัชชะ วิหะระติ เข้าถึงตติยฌาน
(ความเพ่งที่ ๓)
สุขัสสะ จะ ปะหานา เพราะละสุขเสียได้
ทุกขัสสะ จะ ปะหานา เพราะละทุกข์เสียได้
ปุพเพวะ โสมะนัสสะโทมะนัสสานัง เพราะความที่โสมนัสและโทมนัส(ทั้ง๒)
อัตถังคะมา ในกาลก่อนอัสดงค์ดับไป
อะทุกขะมะสุขัง อุเปกขาสะติปาริสุธิง เข้าถึงจตุตถฌาน (ความเพ่งที่ ๔) ไม่มีทุกข์
ไม่มีสุข มีแต่
จะตุตถัง ฌานัง อุปะสัมปัชชะ วิหะระติ มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิเพราะอุเบกขา
อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมาสมาธิ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันนี้ที่กล่าวว่า สัมมาสมาธิ
( เพราะตั้งจิตมั่นชอบ)
อิทัง วุจจะติ ภิกขะเว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันนี้ที่กล่าวว่า
อริยสัจคือทุกขนิโรธคามินี
ทุกขะนิโรธะคามินีปะฏิปะทา อะริยสัจจัง ปฏิปทา ( ข้อปฏิบัติให้ถึงธรรมเป็นที่ดับทุกข์)
อิติ อัชฌัตตัง วา ธัมเมสุ ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรม
ธัมมานุปัสสี วิหะระติ เป็นภายในบ้าง
พะหิทธา วา ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี วิหะระติ ย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมเป็นภายนอกบ้าง
อัชฌัตตะพะหิทธา วา ธัมเมสั ย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งภายใน
ธัมมานุปัสสี วิหะระติ ทั้งภายนอกบ้าง
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา ธัมเมสุ วิหะระติ ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ความเกิดขึ้นในธรรมบ้าง
วะยะธัมมานุปัสสี วา ธัมเมสุ วิหะระติ ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในธรรมบ้าง
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา ย่อมพิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้น
ธัมเมสุ วิหะระติ ทั้งความเสื่อมไปในธรรมบ้าง
อัตถิ ธัมมาติ วา ปะนัสสะ สะติ ก็หรือสติว่าธรรมมีอยู่ เข้าไป
ปัจจุปัฏฐิตา โหติ ตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้
ปะติสสะติมัตตายะ แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยติ ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆ ในโลกด้วย
เอวัมปิ โข ภิกขะเว ภิกขุ ธัมเมสุ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นธรรม
ธัมมานุปัสสี วิหะระติ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ ในธรรมคืออริยสัจ ๔ อย่างนี้แล
สัจจะปัพพัง จบข้อกำหนดด้วยสัจจะ
ธัมมานุปัสสนาสะติปัฏฐานัง จบธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น