ระตะนะสูตร
ยานีธะ ภูตานิ สมาคะนาติ หมู่ภูตประจำถิ่นเหล่าใด ประชุมกันแล้วในนครนี้
ภูมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข ก็ดี เหล่าใดประชุมกันแล้วในอากาศก็ดี
สัพเพวะ ภูตา สุมะนา ภวันตุ ขอหมู่ภูตทั้งปวงจงเป็นผู้ดีใจ
อะโถปิ สักกัจจะ สุณันตุ ภาสิตัง และจงฟังภาษิตโดยเคารพ
ตัสมา หิ ภูตา นิสาเมถะ สัพเพ เพราะเหตุนั้นแล ท่านภูตทั้งปวง จงตั้งใจฟัง
เมตตัง กะโรถะ มานุสิยา ปะชายะ กระทำไมตรีจิต ในหมู่มนุษยชาติประชุมชน
ทิวา จะ รัตโต จะ หะรันติ เว พะลิง มนุษย์เหล่าใด ย่อมสังเวยทั้งกลางวันกลางคืน
ตัสมา หิ เน รักขะถะ อัปปะมัตตา เพราะเหตุนั้นแล ท่านทั้งหลายจงเป็นผู้ไม่ประมาท
รักษาหมู่มนุษย์ทั้งหลายเหล่านั้น
ยังกิญจิ วิตตัง อิธะ วา หุรัง วา ทรัพย์เครื่องปลื้มใจ อันใดอันหนึ่ง ในโลกนี้หรือ
สัคเคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณีตัง โลกอื่น หรือรัตนะอันใด อันประณีตในสวรรค์
นะ โน สะมัง อัตถิ ตถาคเตน รัตนะอันนั้นเสมอด้วยพระตถาคตเจ้ามีมีเลย
อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระพุทธเจ้า
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี
ขะยัง วิราคัง อะมะตัง ปณีตัง พระศากยมุนีเจ้า มีพระหฤทัยดำรงมั่นได้บรรลุธรรม
ยะทัชเคา สักยะมุนี สะมาหิโต อันใดเป็นทีสิ้นกิเลส เป็นอมฤตธรรมอันประณีต
นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ สิ่งไรๆ เสมอด้วยพระธรรมนั้นย่อมไม่มี
อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปณีตัง แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระธรรม
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี
ยัมพุทธะเสฏโฐ พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุด ทรงสรรเสริญแล้ว
ปริวัณณยี สุจิง ซึ่งสมาธิอันใด ว่าเป็นธรรมอันสะอาด
สมาธิมานันตะริกัญญะมาหุ บัณฑิตทั้งหลาย กล่าวซึ่งสมาธิอันใด ว่าให้ผล
สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ โดยลำดับสมาธิอื่น เสมอด้วยสมาธินั้นย่อมไม่มี
อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปณีตัง แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระธรรม
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดี จงมี
เย ปัคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปสัตถา บุคคลเหล่าใด ๘ จำพวก ๔ คู่ อันสัตบุรุษทั้งหลาย
จ้ตตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนติ สรรเสริญแล้ว บุคคลเหล่านั้นบุคคลเหล่านั้น เป็นเต
ทักขิเณยยา สุคะตัสสะ สาวะกา สาวกของพระสุคต ควรแก่ทักษิณาทาน
เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลานิ ทานทั้งหลาย อันบุคคลถวายในท่านเหล่านั้นย่อมมีผลมาก
อิทัมปิ สังเฆ ระนะนัง ปณีตัง แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์
เอเตนะ สัจเจน สุวัตถิ โหตุ ด้วยคำสัตย์นี้ ความสวัสดีจงมี
เย สุปปะจิตตา มะนะสา ทัฬเหนะ พระอริยบุคคลทั้งหลายเหล่าใด ในศาสนาพระโคดมเจ้า
นิกกามิโน โคตะมะสาสนัมหิ ประกอบดีแล้ว มีใจมั่นคง มีความใคร่ออกไปแล้ว
เต ปัตติปัตตา อะมะตัง วิคัยหะ พระอริยบุคคลทั้งหลายเหล่านั้น
ลัทธา มุธา นิพพุติง ภุญชะมานา ถึงพระอรหัตผลที่ควรถึง หยั่งเข้าสู่พระนิพพาน
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปณีตัง ได้ซึ่งความดับกิเลส โดยเปล่าๆ แล้วเสวยผลอยู่
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์
ยะถินทะขีโล ปะฐะวิง สิโต สิยา ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี
จตุพภิ วาเตภิ อะสัมปะกัมปิโย เสาเขื่อนลงดินแล้วไม่หวั่นไหวด้วยพายุ ๔ ทิศ ฉันใด
ตะถูปะมัง สัปปุริสัง วะทามิ ผู้ใด เล็งเห็นอริยส้จทั้งหลาย เรารียกผู้นั้นว่า
โย อะริยะสัจจานิ อะเวจจะ ปัสสะติ เป็นสัตบุรุษไม่หวั่นไหวด้วยโลกธรรม อุปมาฉันนั้น
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปณีตัง แม้อันนี้ เป็นรตนะอันประณีตในพระสงฆ์
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี
เย อริยะสัจจานิ วิภาวะยันติ พระโสดาบันจำพวกใด กระทำให้แจ้งอยู่ ซึ่งอริยสัจ
คัมภีระปัญเญนะ สุเทสิตานิ ทั้งหลาย อันพระศาสดาผู้มีปัญญาลึกซึ้งแสดงดีแล้ว
กัญจาปิ เต โหนติ ภุสัปปะมัตตา พระโสดาบันจำพวกนั้น ยังเป็นผู้ประมาทก็ดี
นะ เต ภะวัง อัฏฐะมะมาทิยันติ ถึงกระนั้น ท่านย่อมไม่ถือเอาภพที่ ๘ (คือเกิดอีก
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปณีตัง อย่างมาก ๗ ชาติ)แม้อันนี้ เป็นรัตนอันประณีตในพระสงฆ์
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดี จงมี
สหาวัสสะ ทัสสะนะสัมปะทายะ สังโยชน์สามประการคือสักกายะทิฏฐิ วิจิกิจฉา
ตยัสสุ ธัมมา ชะหิตา ภะวันติ สีลัพพตปรามาส อันใด ซึ่งเป็นกิเลสผูกสัตว์ไว้ในภพ
สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉิตัญจะ อันหนึ่งยังมีอยู่ ธรรมเหล่านั้น อันพระโสดาบัน
สัลัพพะตัง ว่าปิ ยะทัตถิ กิญจิ ละได้แล้ว พร้อมด้วยทัสสนะสมบัติ
คือ โสดาปัตติมรรคทีเดียว
จตูหะปาเยหิ จะ วิปปะมุตโต อนึ่ง พระโสดาบันเป็นผู้พ้นแล้วจากอบายทั้ง ๔
ฉะ จาภิฐานานิ อะภัพโพ กาตุง ไม่อาจะเพื่อจะกระทำอภิฐานทั้ง ๖
(คืออนันตริยกรรม ๕ และการเข้ารีต)
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปณี่ตัง แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น