วันศุกร์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2555

ป่าช้า ๘-๙


ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ                         ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง                           เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสรีระ (ซากศพ)
สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง                                        ที่เข้าทิ้งไว้แล้วในป่าช้า
อัฏฐิกานิ                                                          คือเป็น(ท่อน) กระดูก
ปุญชะกิตานิ                                                    เป็นกองเรี่ยรายแล้ว
เตโรวัสสิกานิ                                                   มีในภายนอก ( เกิน) ปีหนึ่งไปแล้ว
โส อิเมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ                   เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า
อะยัมปิ โข กาโย                                               ถึงร่างกายอันนี้เล่า
เอวังธัมโม                                                        ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา
เอวังภาวี                                                          คงเป็นอย่างนี้
เอวัง อะนะตีโตติ                                              ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ    ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเป็นภายในบ้าง
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ          ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย                             ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย
กายานุปัสสี วิหะระติ                                       ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา  กายัสมิง วิหะระติ  ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ความเกิดขึ้นในกายบ้าง
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายังมิง วิหะระติ           ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือความเสื่อมไปในกายบ้าง
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา                       ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือทั้งความเกิดขึ้น
กายัสมิง วิหะระติ                                            ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ                                 ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไป
สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ                                     ตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น
ยาวะเทวะ ญาณะมัตถายะ                               แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้
ปะติสสะติมัตตายะ                                          แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ                                    เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ                            ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆ ในโลกด้วย
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย                               ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกาย
กายานุปัสสี วิหะระติ                                       ในกายเนื่อง ๆอยู่อย่างนี้
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ                         ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง                           เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสรีระ (ซากศพ)
สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง                                        ที่เข้าทิ้งไว้แล้วในป่าช้า
อัฏฐิกานิ                                                          คือเป็น(ท่อน) กระดูก
ปูตีนิจุณณะกะชาตานิ                                      ผุละเอียดแล้ว
โส อิเมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ                   เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า
อะยัมปิ โข กาโย                                               ถึงร่างกายอันนี้เล่า
เอวังธัมโม                                                        ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา
เอวังภาวี                                                          คงเป็นอย่างนี้
เอวัง อะนะตีโตติ                                              ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ    ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเป็นภายในบ้าง
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ          ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย                             ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย
กายานุปัสสี วิหะระติ                                       ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา  กายัสมิง วิหะระติ  ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ความเกิดขึ้นในกายบ้าง
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายังมิง วิหะระติ           ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือความเสื่อมไปในกายบ้าง
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา                       ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือทั้งความเกิดขึ้น
กายัสมิง วิหะระติ                                            ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ                         ก็หรือสติว่ากายมีอยู่
ปัจจุปัฏฐิตา โหติ                                             เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น
ยาวะเทวะ ญาณะมัตถายะ                               แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้
ปะติสสะติมัตตายะ                                          แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ                                    เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ                            ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆ ในโลกด้วย
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย                               ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกาย
กายานุปัสสี วิหะระติ                                       ในกายเนื่อง ๆอยู่อย่างนี้
นวสีวถิกาปัพพะ                                             จบข้อกำหนดด้วยป่าช้า กอง
กายานุปัสสนาสะติปัฏฐานัง                            จบกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน

ไม่มีความคิดเห็น: