สังเวคะปะริทีปะกะปาฐะ
อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปปันโน ในโลกนี้ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ได้เกิดขึ้นแล้ว
ธัมโม จะ เทสิโต และพระธรรมที่ทรงแสดงแล้ว
นิยยานิโก เป็นเครื่องนำสัตว์ออก
อุปะสะมิโก เป็นไปเพื่ออันสงบระงัด
ปะรินิพพานิโก, เป็นไปเพื่ออันดับรอบ
สัมโพธะคามี ให้ถึงความตรัสรู้
สุคะตัปปะเวทิโต, พระสุคตประกาศแล้ว
มะยันตัง ธัมมัง สุตฺวา เอวัง ชานามะ, เราได้ฟังธรรมนั้นแล้วจึงรู้อย่างนี้ว่า
ชาติปิ ทุกขา, แม้ความเกิด เป็นทุกข์
ชะราปิ ทุกขา, แม้ความแก่ เป็นทุกข์
มะระณัมปิ ทุกขัง, แม้ความตาย เป็นทุกข์
โสกะปริเทวะทุกขะ แม้ความแห้งใจ ความร่ำไรเพ้อ ความทุกข์
โทมะนสสุปายาสาปิ ทุกขา, ความเสียใจ ความคับแค้นใจ เป็นทุกข์
อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข, ความประจวบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก เป็นทุกข์
ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข ความพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นทีรัก เป็นทุกข์
ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง ปรารถนาอยู่ย่อมไม่ได้
แม้อันใด แม้อันนั้นเป็นทุกข์
สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา, โดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ เป็นทุกข์
เสยยะถีทัง, กล่าวคือ
รูปูปาทานักขันโธ อุปาทานขันธ์คือรูป
เวทะนูปาทานักขันโธ, อุปาทานขันธ์คือเวทนา
สัญญูปาทานักขันโธ, อุปาทานขันธ์คือสัญญา
สังขารูปาทานักขันโธ, อุปาทานขันธ์คือสังขาร
วิญญาณูปาทานักขันโธ, อุปาทานขันธ์คือวิญญาณ
เยสัง ปะริญญายะ, เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้า ยังดำรงพระชนม์อยู่
ธะระมาโน โส ภะคะวา, ย่อมแนะนำ สาวกทั้งหลายเพื่อให้กำหนดรู้
เอวัง พะหุลัง สาวะเก วิเนติ, อุปาทานขันธ์ ๕ อย่างนี้โดยมาก
เอวัง ภาคา จะ ปะนัสสะ ภะคะวะโต ก็แลอนุสาสนีเป็นอันมากของพระผู้มีพระภาคเจ้า
สาวะเกสุ อะนุสาสนี พะหุลา ปะวัตตะติ, พระองค์ นั้นเป็นไปในสาวกทั้งหลาย มีส่วนอย่างนี้
รูปัง อะนิจจัง, รูป ไม่เที่ยง
เวทะนา อะนิจจา เวทนา ไม่เที่ยง
สัญญา อะนิจจา, สัญญา ไม่เที่ยง
สังขารา อะนิจจา, สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง
วิญญาณัง อะนิจจัง, วิญญาณ ไม่เที่ยง
รูปัง อะนัตตา, รูป เป็นอนัตตา
เวทะนา อะนัตตา เวทนา เป็นอนัตตา
สัญญา อะนัตตา, สัญญา เป็นอนัตตา
สังขารา อะนัตตา, สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา
วิญญาณัง อะนัตตา วิญญาณ เป็นอนัตตา
สัพเพ สังขารา อะนิจจา สังขารทั้งหลายทั้งปวง ไม่เที่ยง
สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ. ธรรมทั้งหลายทั้งปวง เป็นอนัตตา ดังนี้
เต(ตา) มะยัง โอติณณามะหะ, พวกเราทั้งหลายเป็นอัน ชาติ
ชาติยา,ชะรามะระเณนะ, ชรา มรณะ โสกะ
โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส
อุปายาเสหิ, อุปายาส ครอบงำแล้ว
ทุกโขติณณา, ชื่อว่าเป็นผู้มีทุกข์ครอบงำแล้ว
ทุกขะปะเรตา, มีทุกข์เป็นเบื้องหน้าแล้ว
อัปเปวะนามิมัสสะ เกวะลัสสะ ไฉน ความทำที่สุดแห่งทุกทั้งมวลนี้
ทุกขักขันธัสสะอันตะกิริยา ปัญญาเยถาติ. จะพึงปรากฏ
(ฆราวาส เว้นตรงนี้ไปสวดต่อด้านท้ายสุด)
จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง เราทั้งหลาย ถึงแล้วซี่งพระผู้มีพระภาคเจ้า
อุททิสสะ อะระหันตัง สัมมาสัมพุทธัง, แม้ปรินิพพานนานแล้ว
พระองค์นั้น
สัทธา อะคารัสฺมา อะนะคาริยัง ปัพพะชิตา, ผู้มีศรัทธาออกบวชจากเรือนเป็นอนาคาริกะ
ตัสฺมิง ภะคะวันติ พฺหรหฺจะริยัง จะรามะ, ประพฤติพรหมจรรย์ ในพระผู้มีพระภาคเจ้า
ภิกขูนัง (สามะเณรานัง) พระองค์นั้น
สิกขาสาชีวะสะมาปันนา, ถึงพร้อมด้วยสิกขาสาชีพของภิกษุทั้งหลาย
ตัง โน พฺรหฺมจะริยัง อิมัสสะ เกวะลัสสะ ขอพรหมจรรย์ของเราทั้งหลายนั้น จงเป็นไป
ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ. เพื่ออันกระทำที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้
เทอญ.
(ฆราวาส สวดดังนี้)
จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง เราทั้งหลายขอถึงพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์
สะระณังคะตา, นั้นแม้ปรินิพพานนานมาแล้ว พระองค์นั้น เป็นสรณะ
ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ, ซึ่งพระธรรมด้วย ซึ่งพระสงฆ์ด้วย
ตัสสะ ภะคะวะโต สาสะนัง ยะภาสติ กระทำในใจอยู่ ปฏิบัติตามอยู่ ซึ่งคำสอนของพระผู้
ยะถาพะลังมะนะสิกะโรมะ, มีพระภาคเจ้านั้นตามสติกำลัง
อะนุปะฏิปัชชามะสา สา โน ปะฏิปัตติ, ขอให้การปฏิบัตินั้นๆ ของเรา
อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ จงเป็นไปเพื่ออันทำที่สุด
อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุฯ แห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ เทอญ ฯ
14-8-55 -19-2-56
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น