วันจันทร์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Meditation Handbook 10

สรุปแล้วก็คือ                                                                          To summarize:
๑ เพื่อช่วยให้พลังงานที่มีอยู่ในร่างกายทุกส่วนของ          a. for the sake of improving the energy already existing
คนเราทุกคนให้ดีขึ้น เพื่อต่อสู้กับสิ่งต่างๆ ในตัว                               in every part of your body, so that you can contend with
เช่น ไม่สบายในร่างกายเป็นต้น                                           such things as disease and discomfort; and
๒ เพื่อช่วยความรู้ทีมีอยู่แล้วของคนทุกคนให้แจ่มใส      b. for the sake of clarifying the knowledge which already
ขึ้น เพื่อเป็นหลักวิชา วิมุติ วิสุทธิ ความหมดจดสะอาด     exists within you, so that it can become a basis for the
ในทางจิตใจ                                                                           skills leading to release and purity of heart-
หลักอานาปาฯ ทั้ง ๗ ข้อนี้ ควรถือไว้เป็นหลักสูตร          You should always bear these seven steps in mind,
เพราะเป็นเรื่องสำคัญของอานาปาฯทั้งสิ้น                          because they are absolutely essential to every aspect of
เมื่อรู้เรื่องสำคัญเหล่านี้แล้ว ก็เท่ากับว่าเราได้ตัดถนน       breath meditation. When you have mastered them, you will
เส้นใหญ่ ส่วนถนนซอยนั้นไม่สำคัญ คือ ส่วนปลีก           have cut a main road. As for the side roads—the incidentals
ย่อยของอานาปาฯ นั้นยังมีอยู่อีกมาก แต่ไม่ค่อย                               of breath meditation—there are plenty of them, but they
สำคัญ ฉะนั้น จึงควรปฏิบัติและดำเนินตามแบบนี้             aren’t really important. Therefore, you will be perfectly safe
ไว้ให้มาก ท่านจะได้รับความปลอดภัยเป็นอย่าง                               if you stick to these seven stops, and practice them
ยิ่งทีเดียว                                                                                                as much as possible.
ถ้าท่านรู้จักปรับปรุงแก้ไขลมหายใจ                                  Once you have learned to put your breath in order, it is
ของตัวเอง โดยสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว ก็เท่ากับว่า                             as if you have put everyone in your home in order. The
คนในบ้านของท่านเป็นคนดี ส่วนปลีกย่อยนั้น                 incidentals of breath meditation are like people outside
เปรียบเหมือนคนนอกบ้าน คือ แขก ถ้าคนในบ้าน            your home—i.e. visitors. Once the people in your home
ของเราดี  คนนอกบ้านก็ต้องดีไปตามเรา คนนอก                            are well-behaved, hour visitors will have to fall in line.
บ้านหรือแขกในที่นี้ได้แก่นิมิตต่างๆ และลมสัญจร          The ‘visitors’ here are the signs (nimitta) and vagrant breaths
ที่จะต้องผ่านไปผ่านมาในรัศมีแห่งลมของเราที่ทำอยู่       that will tend to pass within the range of the breath you are
บางทีเกิดแสงสว่างขึ้น บางทีปรากฏเป็นรูปคน หรือ         dealing with: e.g. the various signs that arise from the breath
รูปสัตว์ เป็นตัวเองหรือคนอื่น บางคราวเกิดนิมิต                              and may appear as images—bright lights, people, animals,
ขึ้นทางหู เช่นได้ยินเสียงคำพูดของบุคคลผู้อื่น                  yourself, others; or as sounds—the voices of other people,
จำได้บ้าง ไม่ได้บ้าง บางคราวให้ปรากฏกลิ่นต่างๆ           some of whom you may recognize, others of whom you may
ขึ้นทางจมูก บางทีก็เป็นกลิ่นหอม บางทีก็เป็นกลิ่น          not. Sometimes the signs appear as smells-- sometimes
เหม็นเหมือนกลิ่นซากศพ                                                     fragrant, sometimes foul like a corpse.
บางคราวหายใจเข้าไปให้เกิดความอิ่มเอิบซึมซาบไปทั่ว  Sometimes the in-breath can make you feel so full
สรรพางค์กายจนไม่รู้สึกหิวข้าวหิวน้ำ                                                 throughout the body that you feel no need to eat or drink.
บางคราวเกิดสัมผัสขึ้นในทางกาย ให้มีอาการอุ่นๆ            Sometimes the breath can send warm, hot, cold or tingling
ร้อนๆ เย็นๆ ชา ส่ายไปส่ายมาตามสรรพางค์กาย                                sensations through the body. Sometimes it can cause things
บางทีให้ผุดขึ้นทางจิตใจซึ่งเราไม่เคยนึกคิดก็เกิดขึ้นได้   which never before occurred to you to spring suddenly to
สิ่งทั้งหลายเหล่านี้ ชื่อว่า  “ แขก” ก่อนทีเรา                       mind. All of these things are classed as visitors. Before you
จะรับแขกเหล่านี้ให้ปรับปรุงจิตและลมหายใจของตัว     go  receiving visitors, you should put your breath and mind
ให้เรียบร้อยและมั่นคงเสียก่อน จึงค่อยรับแขก                                 into good order, making them stable and secure. In
การทีเราจะต้อนรับแขกเหล่านี้ เราก็ต้องบังคับ                 receiving these visitors, you first have
ปรับปรุงแขกให้อยู่ในอำนาจเสียก่อน                                                to bring them under your control.
ถ้าแขกไม่อยู่ในอำนาจบังคับบัญชาของเรา                        If you can’t control them,
อย่าเพิ่งไปคลุกคลีกับเขา ๆ                                                   don’t have anything to do with them:
อาจจะนำความเสื่อมเสียมาสู่เราได้ ถ้าหากเรารู้จัก              They might lead you astray.But if, on the other hand,
ปรับปรุงเขา สิ่งเหล่านั้นก็จะเป็นเครื่องสนับสนุน             you can put them through their paces, they can be
เราต่อไป                                                                                                of use to you later on.
การปรับปรุงนั้น ได้แก่การเจริญปฏิภาคนิมิต คือ                              To ‘put them through their paces’ means to change them
ให้ขยายสิ่งที่ปรากฏมานั้นให้เป็นไปตามอำนาจ                                at will, through the power of thought(patibhāga nimitta)-
แห่งจิต คือ ทำให้เล็ก ให้โต ให้ใกล้ ให้ไกล                      making them small, large, sending them far away,
ให้เกิด ให้ดับ ให้มีข้างนอกข้างในก็ได้ สิ่งเหล่านี้                              bringing them up close, making them appear and disappear,
จึงจะเป็นประโยชน์ในการทำจิต ถ้าคล่องแคล่ว                               sending them outside, bringing them inside. Only then will
ชำนาญในนิมิตนี้ ก็จะกลายเป็นวิชา เช่น ตาทิพย์                               you be able to use them in training the mind. Once you have
เห็นรูปโดยไม่ต้องลืมตา หูทิพย์ ฟังเสียงไกลได้                               mastered these signs, they will give rise to various abilities:
จมูกทิพย์ ดมกลิ่นไกลได้ ลิ้นทิพย์ ดื่มรสของธาตุ                            the ability to see without opening your eyes, the ability to
ต่างๆ ซึ่งอยู่ในอากาศธาตุ อันนี้เป็นประโยชน์                   hear sounds at great distances; the ability to smell distant
แก่ร่างกาย สามารถป้องกันความหิว ความอยาก                                aromas; the ability to taste the various elements that exist
ได้ สัมผัสอันเป็นทิพย์ก็จะเกิดขึ้นในทางกาย เช่น             in the air and can be of use in overcoming feelings of
เราต้องการความเย็นก็จะเย็นขึ้น ต้องการความร้อน          hunger and desire; the ability to give rise to certain feeling
ก็จะร้อนขึ้น ต้องการความอุ่นก็จะปรากฏขึ้น ต้อง           at will—to feel cool when you want to feel cool, hot when
การความเข้มแข็งของร่างกาย ก็จะขึ้น เพราะธาตุ                               you want to hot, warm when you want to fee warm, strong
ทั้งหลายที่จะให้ประโยชน์แก่ร่างกาย ซึ่งมีอยู่                    when you need strength—because the various elements in
ในโลกก็จะแล่นเข้ามาปรากฏในกายเรา                                             the world that can be physically useful to you will come
and appear in your body.
ดวงใจก็จะเป็นทิพย์และมีอำนาจสามารถจะทำให้             As for the mind, you will be able to give rise to the eye
เกิดญาณจักขุ เช่น ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ                        of intuition( ñāṇa-cakkhu): the ability to remember previous
ระลึกชาติได้ จุตูปปาตญาณ รู้จักความเกิดตายของ           lives (pubbenivāsānussati-ñāṇa),  the ability to know where
สัตว์ว่ามาอย่างไรไปอย่างไร อาจทราบได้                         living beings are reborn after they die.(cutūpapāta-ñāṇa),
อาสวขยญาณ ความรู้เป็นเหตุที่จะฟอกอาสวะ                   the ability to cleanse the heart of the fermentations of
กิเลสให้สิ้นไป ถ้าเราเป็นผู้มีสติปัญญา ย่อมรับ                  defilement( āsavakkhaya-ñāṇa). If you have your wits about
แขกมาทำงานในบ้านของเราได้เป็นอย่างดี                        you, you can receive these visitors and put them to work
in your home.
นี่เป็นส่วนปลีกย่อยในการปฏิบัติอานาปานสติ                 These are a few of the incidentals of breath meditation.
โดยย่อ                                                                                    If you come across them in your practice, you should
ฉะนั้น สิ่งทั้งหลายที่กล่าวมาให้ทบทวนดูให้ดี                  examine them thoroughly. Don’t be please by what appears;
อย่าพึ่งยินดีในสิ่งทีปรากฏ อย่าพึ่งยินร้ายหรือ                   don’t be upset by or try to deny what appears.
ปฏิเสธในสิ่งทีปรากฏ ควรตั้งจิตเป็นกลาง ทบทวน          Keep your mind on an even keel. Stay neutral.
ดูให้รอบคอบละเอียดลออเสียก่อนว่าเป็นของควร          Be circumspect.
เชื่อถือได้หรือไม่ มิฉะนั้นจะเป็นเหตุให้สำคัญผิด                             Consider carefully whatever appears,
ไปก็มี ดี ชั่ว ถูก ผิด สูง ต่ำ ทั้งหมด มันสำคัญอยู่ที่             to see whether or not it’s trustworthy.
ดวงจิตของเราฉลาดหรือโง่ รู้จักพลิกแพลงดัดแปลง        Otherwise, it might lead you to mistaken assumptions.
แก้ไข เมื่อดวงจิตของเราเป็นผู้โง่อยู่แล้ว แม้ของสูง          Good and evil, right and wrong, noble and
อาจจะกลายเป็นของต่ำ ของดีอาจจะกลายเป็นของ           base—all depend on whether your heart is shrewd or dull,
ชั่ว                                                                                           and on how resourceful you are.

ถ้าหากเราได้รู้เรื่องราวต่างๆ ของลมและส่วนปลีกย่อย    If you know the various aspects of the breath and its
ของลมก็จะได้รู้ในอริยสัจจธรรม  นอกจากนั้นยัง                            incidentals, you can gain knowledge of the four
เป็นหนทางบรรเทาทุกข์ของร่างกายได้อย่างดีอีก                             Noble Truths. In addition, you can also relieve physical
ตัวสติเป็นตัวยาลม อานาปาฯ เป็นกระสาย เมื่อสติ            pains as they arise in your body. Mindfulness is the active
เข้าไปฟอกแล้วย่อมบริสุทธิ์ ลมที่บริสุทธิ์จะส่งไป           ingredient in the medicine; the in-and-out breath is the solvent.
ฟอกโลหิตต่างๆ ในร่างกายให้สะอาด เมื่อโลหิต                              Mindfulness can cleanse and purify the breath; a pure
สะอาดแล้วก็จะเป็นเหตุบรรเทาโรคภัยต่างๆ ในตัว          breath can cleanse the blood throughout the body; and when
ได้ ถ้าเป็นผู้มีโรคเส้นประสาทประจำอยู่แล้วก็จะหาย      the blood is cleansed, it can relieve various diseases and
ได้อย่างดีทีเดียว                                                                    disorders in the body. If, for example, you suffer from
นอกจากนี้ ก็ยังสามารถจะสร้างความเข้มแข็งของ             nervous disorders, they will disappear. In addition, you
ร่างกายให้ได้รับความสุขยิ่งขึ้น เมื่อร่างกายได้รับ                             be able to strengthen the body, so that you feel a greater
ความสุข จิตใจก็สงบได้อย่างดี เมื่อจิตสงบได้เช่นนั้น       sense of health and well-being. When the body feels well,
ย่อมเกิดกำลัง  สามารถทีจะระงับเวทนา จิตย่อมสงบ        the mind can settle down and rest; and once the mind is
ปราศจากนิวรณ์ได้อย่างดี กายก็มีกำลัง ใจก็มีกำลัง           rested, you gain strength: the ability to relieve all feelings
เรียกวา “ สมาธิพลัง”                                                             of pain while sitting in meditation, so that you can go on
sitting for hours. When the body is free from pain, the mind
is free from hindrances(nivarana). Body and mind are both
strong. This is called samadhi balam—the strengh of
concentration.

เมื่อสมาธิมีกำลังเช่นนั้นแล้ว                                                 When your concentration has strength in this way, it is   
ย่อมเกิดปัญญา สามารถจะแลเห็นทุกข์ สมุทัย นิโรธ        bound to give rise to discernment: the ability to see stress,
มรรค แจ้งประจักษ์ขึ้นในลมหายใจของตัวทีมีอยู่ทุก       its cause, its disbanding and the |Path to its disbanding,
คน ถ้าจะอธิบายก็ได้ความอย่างนี้ คือ                                                  all clearly within the breath. This can be explained as
                                                                                                follows:
๑ ลมหายใจเข้าออกเป็นทุกขสัจจ ลมเข้าเป็นชาติทุกข์      the in-and-out breath is stress—the in-breath the stress
ลมออกเป็นมรณทุกข์                                                           arising, the out –breath the stress of passing away.
๒ ไม่รู้จักลมเข้าลมออก รู้ลักษณะของลม เป็นสมุทัยสัจ  Not being aware of the breath as it goes in and out,
                                                                                                not knowing  the characteristics of the breath: This is
                                                                                                the cause of stress.
๓ (๑) ลมออกรู้ว่าออก ลมเข้ารู้ว่าเข้า รู้ลักษณะของลมโดย             Knowing when the breath is coming in, knowing when
ชัดเจนเป็นสัมมาทิฏฐิองค์อริยมรรค คือ มีความเห็น         it is going out, knowing its characteristics clearly--
ถุกต้องตามความเป็นจริงของลมหายใจ                             i.e. keeping your views in line with the truth of the breath:
                                                                                                This is Right View, part of the Noble Path.
(๒)หายใจแบบใดไม่สบายก็รู้ และรู้จักวิธีแต่งลมหาย      Knowing which ways of breathing are uncomfortable,
ใจของตัวว่าแบบนี้ไม่สบาย เราจะต้องหายใจแบบนี้         knowing how to vary the breath; knowing,’ That way of
จึงจะเป็นทีสบาย นี้เรียกว่าสัมมาสังกัปปะ ดำริชอบ          breathing is uncomfortable; we’ll have to breathe like this
in order to feel at ease’: This is Right Intention.
(๓)จิตสังขารที่นึกคิดวิตกวิจารณ์ในกองลมทั้งปวง          The mental factors which think about and properly
อยู่โดยรอบ ชื่อว่า สัมมาวาจา วาจาชอบ                             evaluate all aspects of the breath: These are Right Speech.
(๔)รู้จักวิธีปรับปรุงลมหายใจของตนโดยวิธีการต่างๆ     Knowing various ways of improving the breath; breathing,
เช่น หายใจเข้ายาวออกยาว หายใจเข้าสั้นออกสั้น              for example, in long and out long, in short and out short,
หายใจเข้าสั้นออกยาว หายใจเข้ายาวออกสั้น                      in short and out long, in long and out short, in long and out
จนไปถูกลมอันเป็นที่สบายแห่งตน ดังนี้ชื่อว่า                  short, until you come across the breath which is most
สัมมากัมมันตะ การงานชอบ                                                                comfortable for you: this is Right Undertaking.
(๕)รู้จักทำลมหายใจฟอกโลหิตในร่างกาย ให้สะอาด       Knowing how to use the breath to purify the blood,
บริสุทธิ์แล้วส่งไปหล่อเลี้ยงหทัยวัตถุ รู้จักแต่งลม                            how to let this purified blood nourish the heart muscles,
ให้เป็นที่สบายของร่างกาย รู้จักประกอบลมให้เป็น          how to adjust the breath so that it eases the body and
ที่สบายแห่งดวงจิต หายใจเข้าไปอิ่มกาย อิ่มจิต                  soothes the mind, bow to breathe so that you feel full and
นี้เรียกว่า สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีวิตชอบ                                 refreshed in body and mind: This is Right  Livelihood.
(๖) รู้จักพยายามเปลี่ยนลมหายใจของตนจนเป็นที่            Trying to adjust the breath until it comforts
สบายกาย สบายจิต ถ้ายังไม่ได้รับความสบาย                    the body and mind,
เกิดขึ้นในตัว ก็พากเพียรพยายามอยู่เรื่อยไป อยู่                                and to keep trying as long as you aren’t fully at ease:
อย่างนั้น นี่เรียกว่าสัมมาวายามะ เพียรชอบ                        This is Right Effort.
(๗) รู้ลมหายใจเข้าออกทุกขณะเวลา และรู้กองลม            Being mindful of the in-and-out breath at all times, knowing
ต่างๆ ที่มีอยู่ในร่างกาย เช่น ลมพัดขึ้นเบื้องบน                  the various aspects of the breath—the up-flowing breath,
ลมพัดลงเบื้องต่ำ  ลมพัดในท้อง ลมพัดในลำไส้                               the down-flowing breath, the breath in the stomach, the breath
ลมพัดไปชิ้นเนื้อซาบซ่านไปทั่วทุกขุมขน มีสติ                                intestines, the breath flowing along the muscles and out to
สัมปชัญญะตามรู้อยู่ทุกขณะลมหายใจเข้าออกนี้                               every pore—keeping track of these things with every in-and-
เรียกว่า สัมมาสติ ระลึกชอบ                                                                out breath: This is Right Reference.
(๘) ดวงจิตสงบอยู่ในเรื่องลมอย่างเดียว ไม่ไปเหนียว      A mind intent only on matters of the breath, not pulling any
เอาอารมณ์อย่างอื่นเข้ามาแทรกแซง ทำไปจนลม                               other objects in to interfere, until the breath is refined, giving
ละเอียด เป็นอัปปนาฌาน จนกว่าจะเกิดวิปัสสนาญาณ     rise to fixed absorption and then liberating insight:
ขึ้นในที่นั้นเรียกว่า สัมมาสมาธิ                                            This is Right Cencentration.
๑ นึกถึงลมเรียกว่า วิตก                                                        To think of the breath is termed vitakka.
๒ กระจายลมขยายลม เรียกว่าวิจารณ์                                 To adjust the breath and let it spread is called vicara.
๓ ลมได้รับความสะดวกทั่วถึงแล้วก็อิ่มกาย อิ่มจิต           When all aspects of the breath course freely throughout
เรียกวา ปีติ                                                                             the body, you feel full and refreshed in body and mind:
                                                                                                This is called piti.
๔กายไม่กระวนกระวาย ใจไม่กระสับกระส่าย                 Body and mind are both at rest, giving rise to a sense of
ก็เกิดสุข                                                                                  pleasure and ease: this is termed sukkha.
๕เมื่อได้รับความสุขแล้วจิตย่อมไม่สายไปสู่อารมณ์อื่น   And once you obtain pleasure, the mind is bound to hold
ย่อมแนบสนิทอยู่กับอารมณ์เดียว เรียกว่า                          fast to a single pre-occupation, and not to go straying after
เอกัคคตารมณ์ คือสัมมาสมาธิ ตั้งใจ(มั่น)ไว้ชอบ                               any other: this is called ekaggatārammaṇa.
นี้เรียกว่าสัมมาสมาธิเบื้องต้น ในองค์อริยมรรค                 These five factors form the beginning stage of
                                                                                                Right Concentration.
มรรคสัจที่กล่าวมาคือ ศีล สมาธิ ปัญญา เข้า                        When all of these aspects of the Noble Path—i.e. virtue,
สันนิบาตในดวงจิตได้แล้วโดยสมบูรณ์ ย่อมทำ                                concentration and discernment—are brought together fully
ให้รู้แจ้งในกองลมทั้งปวงว่า หายใจอย่างนี้เป็นเหตุ          mature within the heart, you gain insight into all aspects of
ให้เกิดกุศลจิต หายใจอย่างนั้นเหตุให้เกิดอกุศลจิต            the breath, knowing that, ‘Breathing this way gives rise to
และไม่ติดอยู่ในกายสังขารคือลม ไม่ติดอยู่ใน                  good mental states; breathing that way gives rise to bad mental
วจีสังขาร ไม่ติดอยู่ในจิตสังขาร ทั้งฝ่ายดี และ                   states.’ You aren’t caught up with the factors—i.e. the breath
ฝ่ายชั่ว ปล่อยวางไปตามสภาพแห่งความเป็นจริง                              in all its aspects—that fashion the body, the factors that
นี้เรียกว่า นิโรธสัจ                                                                 fashion speech, the factors that fashion the mind, whether
for good or for ill. You let them be in line with the way

they inherently are: This is the disbanding of stress.

ไม่มีความคิดเห็น: