วันพุธที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

มหาสติปัฏฐานสูตร 7 เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน


เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน
กถัญจะ ภิกขะเว ภิกขุ                                      ดูก่อนภิกษทั้งหลาย ก็อย่างไร ภิกษุ
เวทะนาสุ เวทะนานุปัสสี วิหะระติ                  ย่อมพิจารณาเห็นเวทนา(ความแสวยอารมณ์)
ในเวทนาเนืองๆ อยู่
อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ                                            ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุนะรรมวินัยนี้
1 สุขัง เวทะนัง เวทิยะมาโน                            เมื่อเสวยสุขเวทนา
สุขัง เวทะนัง เวทิยามีติ ปะชานาติ                  ก็รู้ขัดว่า บัดนี้เราเสวยสุขเวทนา
2 ทุกขัง เวทะนัง เวทิยะมาโน                          เมื่อเสวยทุกขเวทนา
ทุกขัง เวทะนัง เวทิยามีติ ปะชานาติ                ก็รู้ชัดว่า บัดนี้เราเสวยทุกขเวทนา
3 อะทุกขะมสุขัง เวทะนัง เวทิยะมาโน                        เมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนา (ไม่ทุกข์ ไม่สุข)
อะทุกขะมะสุขัง เวทะนัง                                 ก็รู้ชัดว่าเราเสวย
เวทิยามีติ ปะชานาติ                                        อทุกขมสุขเวทนา
1 สามิสัง วา สุขัง  เวทะนัง เวทิยะมาโน          หรือเมื่อเสวยสุขเวทนามีอามิส(คือเจือกามคุณ)
สามิสัง วา สุขัง เวทะนัง เวทิยามีติ ปะชานาติ ก็รู้ชัดว่าเราเสวยสุขเวทนามีอามิส
นิรามิสัง วา สุขัง เวทะนัง เวทิยะมาโน                       หรือเมื่อเสวยสุขเวทนาไม่มีอามิส ( คือไม่เจือด้วยกามคุณ)
นิรามิสัง วา สุขัง เวทะนัง                               ก็รู้ชัดว่า บัดนี้เราเสวย
เวทิยามีติ ปะชานาติ                                        สุขเวทนาไม่มีอามิส
2 สามิสัง วา ทุกขัง  เวทะนัง เวทิยะมาโน       หรือเมื่อเสวยทุกขเวทนามีอามิส
สามิสัง วา ทุกขัง  เวทะนัง                              ก็รู้ชัดว่าเราเสวย
เวทิยามีติ ปะชานาติ                                        ทุกขเวทนามีอามิส
นิรามิสัง วา ทุกขัง  เวทะนัง เวทิยะมาโน        หรือเมื่อเสวยทุกขเวทนาไม่มีอามิส
นิรามิสัง วา ทุกขัง  เวทะนัง                            ก็รู้ชัดว่าเราเสวย
เวทิยามีติ ปะชานาติ                                        ทุกขเวทนาไม่มีอามิส
3 สามิสัง วา อทุกขะมะสุขัง                            หรือเมื่อเสวย
เวทะนัง เวทิยะมาโน                                       อทุกขมสุขเวทนามีอามิส
สามิสัง วา อทุกขะมะสุขัง  เวทะนัง                ก็รู้ชัดว่าบัดนี้เราเสวย
เวทิยามีติ ปะชานาติ                                        อทุกขมสุขเวทนามีอามิส
นิรามิสัง วา อะทุกขะมะสุขัง                           หรือเมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนา
เวทะนัง เวทิยะมาโน                                       ไม่มีอามิส
นิรามิสัง อะทุกขะมะสุขัง เวทะนัง เวทิยามีติ ก็รู้ชัดว่าบัดนี้เราเสวยอทุกขมสุขเวทนา
ปะชานาติ                                                        ไม่มีอามิส
อิติ อัชฌัตตัง วา เวทนาสุ เวทนานุปัสสี          ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา
วิหะระติ                                                          เป็นภายในบ้าง
พะหิทฃธา วา เวทนาสุ เวทนานุปัสสี              ย่อมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา
วิหะระติ                                                          เป็นภายนอกบ้าง
อัชฌัตตะพหิทธา วา เวทะนาสุ                       ย่อมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา
เวทะนานุปัสสี วิหะระติ                                  ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง
สมุทะยะธัมมานุปัสสี วา เวทนาสุ วิหะระติ    ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ความเกิดขึ้นในเวทนาบ้าง
วะยะธัมมานุปัสสี วา เวทนาสุ วิหะระติ         ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือความเสื่อมไปในเวทนาบ้าง
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา                      ย่อมพิจารณาเห็นะรรมดาคือทั้งความเกิดขึ้น
เวทนาสุ วิหะระติ                                            ทั้งความเสื่อมไปในเวทนาบ้าง
อัตถิ เวทะนาติ วา ปะนัสสะ                            ก็หรือสติวาเวทนามีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่
สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ                                     เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ                              แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้
ปะติสสะติมัตตายะ                                         แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ                                   เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ                            ย่อมไม่ยึดถืออะไร ๆ ในโลกด้วย
เอวัง โข ภิกขะเว ภิกขุ เวทะนาสุ                      ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็น
เวทนานุปัสสี วิหะระติ                                                เวทนาในเวทนาเนื่องอยู่อย่างนี้แล
เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐานัง                           จบเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน

ไม่มีความคิดเห็น: