๑๑. มะนัสมิงปิ นิพพินทะติ ย่อมเบื่อหน่ายทั้งในมนะ
ธัมเมสุปิ นิพพินทะติ ย่อมเบื่อหน่ายทั้งในธรรมทั้งหลาย
มโนวิญญาเณปิ นิพพินทะติ ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในวิญญาณอาศัยมนะ
มโนสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในสัมผัสอาศัยมนะ
ยัมปิทัง มะโนสัมผัสสะปัจจะยา ความรู้สึกอารมณ์นี้ เกิดขึ้นเพราะอาศัยมโน
อุปปัชชะติ เวทะยิตัง สัมผัสเป็นปัจจัย แม้อันใด
สุขัง วา ทุกขัง วา เป็นสุขก็ดี เป็นทุกข์ก็ดี
อะทุกขะมะสุขัง วา ไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขก็ดี
ตัสมิงปิ นิพพินทะติ ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในความรู้สึกนั้น
๑๒. นิพพินทัง วิรัชชะติ เมี่อเบื่อหน่ายย่อมคลายติด
วิราคา วิมุจจะติ เพราะคลายติด จิตก็พ้น
วิมุตตัสมิง เมื่อจิตพ้น
วิมุตตะมีติ ญาณัง โหติ ก็มีญาณรู้วาพันแล้ว
ขีณา ชาติ วุสิตัง พฺรหฺมะจะริยัง อริยสาวกนั้น ย่อทราบชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว
กะตัง กะระณียัง นาปะรัง อัตถัตตายาติ พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว กิจทีควรทำได้ทำเสร็จ
ปะชานาติ แล้ว กิจอื่นอีกเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี
๑๓. อิทะมะโวจะ ภะคะวา พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสธรรมปริยายนี้แล้ว
อัตตะมะนา เต ภิกขู พระภิกษุเหล่านั้น ก็มีใจยินดีเพลินภาษิตของ
ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุง พระผู้มีพระภาคเจ้า
อิมัสมิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัสสิง ก็แล เมื่อเวยยากรณ์อันนี้ อันพระผู้มีพระภาค
ภัญญะมาเน เจ้าตรัสอยู่
ตัสสะ ภิกขุสหัสสัสสะ อะนุปาทายะ จิตของพระภิกษุพันรูปนั้น ก็พ้นจากอาสวะ
อาสะเวหิ จิตตานิ วิมุจจิงสูติ ทั้งหลาย ไม่ถือมั่นด้วยอุปาทานแล
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น