วันพุธที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2555

สิงคาลสูตร 9


ปัญจะหิ โข คะหะปะติปุตตะ                           ดูก่อนคฤหบดีบุตร เพื่อนเป็นทิศเบื้องซ้าย
ฐาเนหิ กุละปุตเตนะ อุตตะรา ทิสา                   กุลบุตรพึงบำรุงด้วยสถาน
มิตามัจจา ปัจจุปัฏฐาตัพพา                             ๕ อย่างคือ
เทเนนะ                                                            ด้วยการให้อย่าง
ปิยะวัชเชนะ                                                    ด้วยถ้อยคำไพเราะควรดิ่มไว้ในใจอย่าง
อัตถะจริยายะ                                                  ด้วยประพฤติประโยชน์อย่าง
สะมานัตตะตายะ                                             ด้วยความเป็นผู้มีตนเสมออย่าง
อะวิสังวาทะนะตายะ                                       ด้วยไม่แกล้งกล่าวให้ผิดจากความจริงอย่าง
อิเมหิ โข คะหะปะติปุตตะ ปัญจะหิ                 ดูก่อนคฤหบดีบุตร เพื่อนเป็นทิศเบื้องซ้าย
ฐาเนหิ กุละปุตเตนะ อุตตะรา ทิสา                   กุลบุตรบำรุงด้วยสถาน๕
มิตตามัจจา ปัจจุปัฏฐิตา                                  อย่างเหล่านี้แล้ว
ปัญจะหิ ฐาเนหิ กุลปุตตัง อะนุกัมปันติ.           ย่อมอนุเคราะห์กุลบุตรด้วยสถาน อย่างคือ
ปะมัตตัง รักขันติ                                             รักษาเพื่อนผู้ประมาทแล้วอย่าง
ปะมัตตัสส สาปะเตยยัง รักขันติ                      รักษาสมบัติของเพื่อนผู้ประมาทแล้วอย่าง
ภีตัสสะ สะระณัง โหนติ                                   เมื่อเพื่อนสะดุ้งกลัวแล้วเป็นทีพึ่งอาศัยได้อย่าง
อาปะทาสุ นะ วิชะหันติ                                   ไม่ละทิ้งยามอันตรายอย่าง
อะปะระปะชังปิสสะ ปะฏิปูเชนติ                    นับถือตลอดถึงวงศ์วานของเพื่อนอย่าง
อิเมหิ โข คะหะปะติปุตตะ ปัญจะหิ                 ดูก่อนคฤหบดีบุตร เพื่อนเป็นทิศเบื้องซ้าย
ฐาเนหิ กุละปุตเตนะ อุตตะรา ทิสา                   กุลบุตรบำรุงด้วยสถาน อย่าง
มิตตามัจจา ปัจจุปัฏฐิตา                                  เหล่านี้แล้ว
อิเมหิ ปัญจะหิ ฐาเนหิ                                      ย่อมอนุเคราะห์กุลบุตรด้วย
กุละปุตตัง อะนุกัมปันติ                                   สถาน อย่างเหล่านี้
เอวมัสสะ เอสา อุตตะรา ทิสา                           ทิศเบื้องซ้ายนั้น ชื่ออันกุลบุตรปกปิดไว้ให้เกษม
ปะฏิจฉันนา โหติ เขมา อัปปะฏิยา                   นิราศภัยด้วยประการอย่างนี้
ปัญจะหิ โข คะหะปะฏิปุตตะ                           ดูก่อนคฤหบดีบุตร บ่าวไพร่และคนทำงาน
ฐาเนหิ อะยิระเกนะ เหฆฐิมา                            เป็นทิศเบื้องต่ำ
ทิสา ทาสะกัมมะกะรา                                      นายพึงบำรุงด้วยสถาน
ปัจจุปัฏญาตัพพา                                            ๕อย่าง คือ
ยะถาพลัง กัมมันตัง สังวิธาเนนะ                    ด้วยการจัดการงานให้ตามกำลังอย่าง           
ภัตตะเวตตะนานุปปะทาเนนะ                         ด้วยการให้อาหารและบำเหน็จรางวัลอย่าง
คิลานุปัฏฐาเนนะ                                             ด้วยการพยาบาลในเวลาเจ็บไข้อย่าง                                    
อัจฉะริยานัง ระสานัง สังวิภาเคนะ                  ด้วยการแบ่งของมีรสแปลกประหลาดให้กินอย่าง
สะมะเย โวสสัคเคนะ                                       ด้วยการปล่อยในสมัยอย่าง๑
อิเมหิ โข คะหะปะติปุตตะ ปัญจะหิ                 ดูก่อนคฤหบดีบุตร  บ่าวไพร่และคนทำการงาน
ฐาเนหิ อะยิระเกนะ เหฏฐิมา ทิสา                    เป็นทิศเบื้องต่ำ นายบำรุงด้วยสถาน
ทาสะกัมมะกะรา  ปัจจุปัฏฐิตา                         อย่างเหล่านี้แล้ว
ปัญจะหิ ฐาเนหิ อะยิระกัง อะนุกัมปันติ           ย่อมอนุเคราะห์นายด้วยสถาน อย่างนี้คือ
ปุพพุฏฐายิโน จะ โหนติ                                  ลุกขึ้นทำการงานก่อนนาย
ปัจฉานิปาติโน จะ                                            เลิกการงานทีหลังนายอย่าง
ทินนาทายิโน จะ                                              ถือเอาแต่ของที่นายให้อย่าง
สุกะตะกัมมะกะรา จะ                                      ทำการงานให้ดีขึ้นอย่าง
กิตติวัณณะหะรา จะ                                        นำคุณที่เลื่องลือไปสรรเสริญอย่าง
อิเมหิ โข คะหะปะติปุตตะ ปัญจะหิ                 ดูก่อนคฤหบดีบุตร บ่าวไพร่และคนทำการงาน
ฐาเนหิ อะยิระเกนะ เหฏฐิมา ทิสา                    เป็นทิศเบื้องต่ำอันนายบำรุงด้วยสถาน
ทาสะกัมมะกะรา ปัจจุปัฏฐิตา                          อย่างนี้แล้ว
อิเมหิ ปัญจะหิ ฐาเนหิ อะยิระกัง                      ย่อมอนุเคราะห์นายด้วยสถาน
อะนุกัมปันติ                                                    ๕ อย่างนี้
เอวะมัสสะ เอสา เหฏฐิมา                                 ทิศเบื้องต่ำนั้น ชื่ออันนายปกปิดไว้
ทิสา ปะฏิจฉันนา โหติ                                     ให้เกษมนิราศภัยด้วย
เขมา อัปปะฏิยา.                                              ประการอย่างนี้
ปัญจะหิ โข คะหะปะติปุตตะ                           ดูก่อนคฤหบดีบุตร
ฐาเนหิ กุลปุตเตนะ อุปะริมา                            สมณพราหมณ์เป็นทิศเบื้องบน
ทิสา สะมะณะพฺราหฺมะณา                               กุลบุตรพึงบำรุงด้วย
ปัจจุปัฏฐาตัพพา                                             สถาน อย่าง คือ
เมตเตนะ กายะกัมเมนะ                                    ด้วยกายกรรมประกอบด้วยเมตตาอย่าง
เมตเตนะ วะจีกัมเมนะ                                     ด้วยวจีกรรมประกอบด้วยเมตตาอย่าง
เมตเตนะ มะโนกัมเมนะ                                   ด้วยมโนกรรมประกอบด้วยเมตตาอย่าง
อะนาวะฏทฺวาระตายะ                                     ด้วยความเป็นผู้ไม่ปิดประตูอย่าง
อามิสสานุปปะทาเนนะ                                    ด้วยการเพิ่มให้อามิสทานอย่าง
อิเมหิ โข คะหะปะติปุตตะ ปัญจะหิ                 ดูก่อนคฤหบดีบุตร สมณพราหมณ์นั้นเป็นทิศเบื้องบน
ฐาเนหิ กุละปัตเตนะ อุปะริมา                          กุลบุตรพึงบำรุงด้วยสถาน อย่าง
ทิสา สะมะณะพฺราหฺมะณา ปัจจุปัฏฐิตา           เหล่านี้แล้ว
ฉะหิ ฐาเนหิ กุละปุตตัง อะนุกัมปันติ               ย่อมอนุเคราะห์กุลบุตรด้วยสถาน อย่างคือ
ปาปา นิวาเรนติ                                            ห้ามเสียจากความชั่วอย่าง
กัลป์ยาเณ มะนะสา อะนุกัมปันติ                     อนุเคราะห์ด้วยน้ำใจอันงามอย่าง
อัสสุตัง สาเวนติ                                               ให้ได้ฟังสิ่งที่ไม่เคยฟังอย่าง
สุตัง ปะริโยทะเปนติ                                        ทำสิ่งที่เคยฟังแล้วให้ผ่องแผ้วอย่าง ๑
สัคคัสสะ มัคคัง อาจิกขันติ                              บอกทางสวรรค์ให้อย่าง
อิเมหิ โข คะหะปะติปุตตะ ปัญจะหิ                 ดูก่อนคฤหบดีบุตร สมณพราหมณ์
ฐาเนหิ กุละปุตเตหิ อุปะริมา                            เป็นทิศเบื้องบนกุลบุตร
ทิสา สะมะณะพฺราหฺมะณา ปัจจุปัฏฐิตา           บำรุงด้วยสถาน อย่าง เหล่านี้แล้ว
อิเมหิ ฉะหิ ฐาเนหิ กุละปุตตัง อนุกัมปันติ        ย่อมอนุเคราะห์กุลบุตรด้วยสถาน อย่างเหล่านี้
เอวะมัสสะ เอสา อุปะริมา ทิสา                        ทิศเบื้องบนนั้น ชื่ออันกุลบุตรปกปิดไว้
ปะฏิจฉันนา โหติ เขมา อัปะฏิภะยาติ.             ให้เกษมนิราศภัยด้วยประการอย่างนี้
อิทะมะโวจะ ภะคะวา                                       พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสคำอันเป็นไวยากรณ์นี้แล้ว
อิทัง วัตฺวานะ สุคะโต                                       พระองค์ผู้พระสุคต ครั้นตรัสคำนี้แล้ว
อะถาปะรัง เอตะทะโวจะ สัตถา                       พระองค์ผุ้พระศาสดา จึงตรัสคาถาประพันธืนี้ต่อไปว่า
มาตาปิตา ทิสา ปุพพา                                     มารดาบิดาเป็นทิศเบื้องหน้า
อาจะริยา ทักขิณา ทิสา                                                อาจารย์เป็นทิศเบื้องขวา
ปุตตะทารา  ทิสา ปัจฉา                                   บุตรภรรยาเป็นทิศเบื้องหลัง
มิตตามัจจา จะ อุตตะรา                                   เพื่อนเป็นทิศเบื้องซ้าย
ทาสกัมมะกะรา เหฏฐา                                    บ่าวไพร่คนทำการงานเป็นทิศเบื้องต่ำ
อัทธัง สะมะณะพฺราหฺมะณา                             สมณพราหมณ์เป็นทิศเบื้องบน
เอตา ทิสา นะมัสเสยยะ                                    คฤหัสถ์ในสกุลผู้สามารถ
อะละมัตโต กุเล คิหี                                          ควรนอบน้อมทิศทั้ง นี้
ปัณฑิโต สีละสัมปันโน                                                บัณฑิตผู้ถึงพร้อมด้วยศีลแล้ว
สัณโห จะ ปะฏิภาณะวา                                   เป็นคนละเอียดและมีปฏิภาณ
วินาตะวุตติ อัตถัทโธ                                       มีความประพฤติไม่เย่อหยิ่ง ไม่ดื้อกระด้าง
ตาทิโส ละภะเต ยะสัง                                      คนเช่นนั้น ย่อมได้ยศ
อุฏฐานะโก อะนะละโส                                    คนหมั่น ขยัน ไม่เกียจคร้าน
อาปะทาสุ นะ เวธะติ                                        ประพฤติการงานไม่ขาดสาย  เป็นคนมีปัญญา
อัจฉิททะวุตติ เมธาวี                                        ไม่หวั่นไหวในอันตรายทั้งปวง
ตาทิโส ละภะเต ยะสัง                                      คนเช่นนั้น ย่อมได้ยศ
สังคาหะโก มิตตะกะโร                                     คนผู้สงเคราะห์ ทำคนให้เป็นมิตร
วะทัญญู วีตะมัจฉะโร                                      รู้ถ้อยคำที่คนขอกล่าว ปราศจากความตระหนี่
เนตา วิเนตา อะนุเนตา                                     เป็นผ้แนะนำชี้แจงแสดงเหตุผลเนืองๆ
ตาทิโส ละภะเต ยะสัง                                      คนเช่นนั้น ย่อมได้ยส
ทานัญจะ ปิยะวัชชัญจะ                                   การให้ กล่าวถ้อยคำไพเราะ
อัตถะจะริยา จะ ยา  อิธะ                                  ประพฤติประโยชน์ในโลกนี้
สะมานัตตะตา จะ ธัมเมสุ                                ความเป็นผู้เสมอในธรรมนั้นๆ
ตัตถะ ตัตถะ ยะถา ระหัง                                 ในคนนั้นๆ ตามควร
เอเต โข สังคะหา โลเก                                      ธรรมเครื่องสงเคราะห์เหล่านี้แล ต้องมีอยู่ในโลก
ระถัสสาณีวะ ยายะโต                                      เหมือนไม้สลักแห่งรถอันไปอยุ่ ฉะนั้น
เอเต จะ สังคะหา นาสสุ                                   ก็ถ้าธรรมเครื่องสงเคราะห์เหล่านี้จะไม่พึงมีไซร้
นะ มาตา ปุตตะการะณา                                  มารดาก็ดี ไม่พึงได้ความนับถือ
ละเภถะ มานัง ปูชัง วา                                     หรือบูชา เพราะเหตุบุตร บิดาก็ดี จะไม่พึงได้
ปิตา วา ปุตตะการะณา                                                ความนับถือหรือบูชาเพราะเหตุบุตร
ยัสมา จะ สังคะหา เอเต                                    เหตุใด บัณฑิตทั้งหลายพิจารณา
สะมะเปกขันติ ปัณฑิตา                                   เห็นธรรมเครื่องสงเคราะห์เหล่านี้โดยชอบ
ตัสมา มะหะตัง ปัปโปนติ                                เหตนั้น บัณฑิตทั้งหลายเหล่านั้น เป็นผู้อัน
ปาสังสา จะ ภะวันติ เตติ.                                 ประชุมชนสรรเสริญทั่วหน้า

ไม่มีความคิดเห็น: