วันศุกร์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2555

จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน


จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน
กถัญจะ ภิกขะเว ภิกขุ                                      ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็อย่างไรภิกษุย่อมพิจารณา
จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ                             เห็นจิตในจิตเนืองๆ อยู่
อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ                                            ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้
1 สะราคัง วา จิตตัง สะราคัง                           อนึ่ง จิตมีราคะ
จิตตันติ ปะชานาติ                                           ก็รู้ว่าจิตมีราคะ
2  วีตะราครัง วา จิตตัง วีตะราคัง                    จิตไม่มีราคะ
จิตตันติ ปะชานาติ                                           ก็รู้ชัดว่าจิตไมมีราคะ
 3 สะโทสัง วา จิตตัง สะโทสัง                         หรือจิตมีโทสะ
จิตตันติ ปะชานาติ                                           ก็รู้ชัดว่าจิตมีโทสะ
4 วีตะโทสัง วา จิตตัง วีตะโทสัง                      หรือจิตไม่มีโทสะ
จิตตันติ ปะชานาติ                                           ก็รู้ชัดว่าจิตไม่มีโทสะ
สะโมหัง วา จิตตัง สะโมหัง                         หรือจิตมีโมหะ
จิตตันติ ปะชานาติ                                           ก็รู้ชัดว่าจิตมีโมหะ
6 วีตะโมหัง วา จิตตัง วีตโมหัง                        หรือจิตไม่มีโมหะ
จิตตันติ ปะชานาติ                                           ก็รู้ชัดว่าจิตไม่มีโมหะ
 7 สังขิตตัง วา จิตตัง สังจิตตัง                                    หรือจิตหดหู่
จิตตันติ ปะชานาติ                                           ก็รู้ชัดว่าจิตหดหู่
8  วิกขิตตัง วา จิตตัง วิกขิตตัง                                    หรือจิตฟุ้งซ่าน
จิตตันติ ปะชานาติ                                           ก็รู้ชัดว่าจิตฟุ้งซ่าน
9 มะหัคคะตัง วา จิตตัง มะหัคคะตัง               หรือจิตเป็นมหรคต(คิอถึงความเป็นใหญ่ หมายถึงจิตที่
จิตตันติ ปะชานาติ                                           เป็นฌาน หรือเป็นอัปปมัญญา พรหมวิหาร) ก็รู้ชัดว่า
                                                                        จิตเป็นมหรคต
10 อะมะหัคคะตัง วา จิตตัง อะมะหัคคะตัง     หรือจิตไม่เป็นมหรคต ก็รู้ชัดว่า
จิตตันติ ปะชานาติ                                           จิตไม่เป็นมหรคต
11 สะอัตตะรัง วา จิตตัง อะมะหัคคะตัง          หรือจิตเป็นสอุตระ (คือกามาวจรจิตมีจิตอื่นยื่งกว่า
จิตตันติ ปะชานาติ                                           ไม่ถึงอุปจารสมาธิ) ก็รู้ชัดว่า จิตเป็นสอุตระ
12 อะนุตตะรัง วา จิตตัง อะนุตตะรัง               หรือจิตเป็นอนุตระ (คือกามาวจรจิตไม่มีจิตอื่น
ขิตตันติ ปะชานาติ                                          ยิ่งกว่า หมายเอาอุปจารสมาธิ) ก็รู้ชัดว่า จิตเป็นอนุตระ
13 สะมาหิตัง วา จิตตัง สะมาหิตัง                   หรือจิตตั้งมั่น
จิตตันติ ปะชานาติ                                           ก็รู้ชัดว่าจิตตั้งมั่น
14อะสะมาหิตัง วา จิตตัง อะสะมาหิตัง           หรือจิตไม่ตั่งมั่น
จิตตันติ ปะชานาติ                                           ก็รู้ชัดว่า จิตไม่ตั้งมั่น
15 วิมุตตัง วา จิตตัง วิมุตตัง จิตตันติ              หรือจิตวิมุติ (คือหลุดพ้นด้วยตทังควิมุติ
ปะชานาติ                                                        และวิกขัมภนวิมุติ)ก็รู้ชัดว่า จิตวิมุติ
15 อะวิมุตตัง วา จิตตัง อะวิมุตตัง                   หรือจิตยังไม่วิมุติ
จิตตันติ ปะชานาติ                                           ก็รู้ชัดว่า จิตยังไม่วิมุติ
อิติ อัชฌัตตัง วา จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ  ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นจิตในจิตเป็นภายในบ้าง
พะหิทธา วา จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ        ย่อมพิจารณาเห็นจิตเป็นภายนอกบ้าง
อัชฌัตตะพะหิทธา วา                                      ย่อมพิจารณาเห็นจิตในจิต
จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ                             ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา จิตตัสมิง วิหะระติ  ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ความเกิดขึ้นในจิตบ้าง
วะยะธัมมานุปัสสี วา จิตตัสมิง วิหะระติ         ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือ ความเสื่อมไปในจิตบ้าง
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา                       ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือทั้งความเกิดขึ้น
จิตตัสมิง วิหะระติ                                           ทั้งความเสื่อมไปในจิตบ้าง
อัตถิ จิตตันติ วา ปะนัสสะ สะติ                       ก็หรือสติว่า จิตมีอยู่ เข้าไป
ปัจจุปัฏฐิตา โหติ                                             ตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ                               แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้ แต่เพียงสักว่า
ปะติสสะติมัตตายะ                                          เป็นทีอาศัยระลึก
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ                                    เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ                            ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆ ในโลกด้วย
เอวัง โข ภิกขะเว ภิกขุ จิตเต                             ดูก่อนภิกษุทั้ง้หลาย ภิกษุย่อมพิจารณา
จิตตานุปัสสี วิหะระติ                                      เห็นจิตในจิตเนื่อง อยู่อย่างนี้แล
จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐานัง                             จบจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน

ไม่มีความคิดเห็น: