วันพุธที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

มหาสติปัฏฐานสูตร 4 ปะฏิกูลปัพพัง


ปะฏิกูลปัพพัง                                                  ข้อกำหนดด้วยกายเป็นของปฏิกูล
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ                            ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ
อิมะเมวะ กายัง อุทธัง ปาทะตะลา                   ย่อมพิจารณากายนี้นี่แล เบื้องบนแต่พื้นเท้าขึ้นไป
อะโธ เกสะมัตถะกา ตะจะปริยันตัง                 เบื้องต่ำแต่ปลายผมลงมา มีหนังหุ้มอยู่เป็นทีสุดรอบ
ปูรันนานัปปะการัสสะ อะสุจิโน                      เต็มไปด้วยของไม่สะอาดมี
ปัจจะเวกขะติ                                                  ประการต่างๆ ว่า
อัตถิ อิมัสมิง กาเย                                            มีอยู่ในกายนี้
เกสา โลมา นะขา ทันตา  ตะโจ                                    ผม ขน เล็บ ฟัง หนัง
มังสัง นะหารู อัฏฐี อัฏฐิมิญชัง                        เนื้อ   เอ็น กระดูก เยื่อในกระดุก
วักกัง หะทะยัง ยะกะนัง                                  ม้าม หัวใจ ตับ
กิโลมะกัง ปิหะกัง ปัปผาสัง อันตัง                   พังผืด ไต ปอด ไส้ใหญ่
อันตะคุณัง                                                       ไส้น้อย (สายรัดไส้)
อุทะริยัง กะรีสัง ปัตตัง เสมหัง ปุพโพ โลหิตัง อาหารใหม่ อาหารเก่า น้ำดี น้ำเสลด น้ำเหลือง น้ำเลือด
เสโท เมโท อัสสุ วะสา เขโฬ                            น้ำเหงื่อ น้ำมันข้น น้ำตา น้ำมันเหลว น้ำลาย
สังฆาณิกา ละสิกา มุตตันติ                             น้ำมูก น้ำไขข้อ น้ำมูตร
เสยยะถาปิ ภิกขะเว อุภะโตมุขา มูโตฬี           ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม้ฉันใด ไถ้มีปาก ข้าง
ปูรา นานาวิหิตัสสะ ธัญญัสสะ                                   เต็มไปด้วยธัญพืชประการต่างๆ
เสียยะถีทัง                                                       คืออะไรบ้าง
สาลีนัง วีหีนัง มุคคานัง มาสานัง ติลานัง        คือข้าวสาลี ข้าวเปลือก ถั่วเขียว ถั่วเหลือง
ตัณทุลานัง                                                       งา ข้าวสาร
ตะเมนัง จักขุมา ปุริดส มุญจิตฺวา                    บุรุษมีจักษุแก้ไถ้นั้นออกแล้ว
ปัจจเวกเขยยะ                                                  พึงเห็นได้ว่า
อิเม สาลี                                                           เหล่านี้ ข้าวสาลี
อิเม วีหี                                                                        เหล่านี้ ข้าวเปลือก
อิเม มุคคา                                                        เหล่านี้ ถั่วเขียว
อิเม มาสา                                                        เหล่านี้ ถั่วเหลือง
อิเม ติลา                                                           เหล่านี้ งา
อิเม  ตัณฑุลาติ                                                 เหล่านี้ ข้าวสาร
เอวะเมวะ โข ภิกขะเว ภิกขุ                              ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ฉันนั้นนั่นแล ภิกษุ
อิมะเมวะ กายัง อุทธัง ปาทะตะลา                   ย่อมพิจารณากายนี้นี่แล เบื้องบนแต่พื้นเท้าขึ้นไป
อะโธ เกสะมัตถะกา ตะจะปะริยันตัง              เบื้องต่ำแต่ปลายผมลงมา มีหนังหุ้มอยู่เป็นที่สุดรอบ
ปูรันนานัปปะการัสสะ อะสุจิโน                      เต็มไปด้วยของไม่สะอาด
ปัจจะเวกขะติ                                                  มีประการต่างๆ ว่า
อัตถิ อิมัสมิง กาเย                                            มีอยู่ในกายนี้
เกสา โลมา นะขา ทันตา ตะโจ มังสัง นะหารู  ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น
อัฏฐี อัฏฐิมัญชัง วักกัง หะทะยัง ยะกะนัง       กระดูก เยื่อในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ   
กิโลมะกัง ปิหะกัง ปัปผาสัง อันตัง                   พังผืด ไต ปอด
อันตะคุณัง                                                      ไส้ใหญ่ ไส้น้อย
อุทะริยัง กะรีสัง ปิตตัง เสมหัง ปุพโธ โลหิตัง อาหารใหม่ อาหารเก่า  น้ำดี น้ำเสลด น้ำเหลือง น้ำเลือด
เสโท เมโท อัสสุ วะสา เขโฬ                            น้ำเหงือ น้ำมันข้น น้ำตา น้ำมันเหลว น้ำลาย
สังฆาณิกา ละสิกา มุตตันติ                             น้ำมูก น้ำไขข้อ น้ำมูตร
อิติ อัชฌัตตัง วา  กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ  ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง
พะหิทธา วา กาเย  กายานุปัสสี วิหะระติ         ย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเป็นภายนอกบ้าง
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย                             ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย
 กายานุปัสสี วิหะระติ                                     ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง
สะมุทะยะธัมมานุปัสสีวา กายัสมิง วิหะระติ  ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสมิง วิหะระติ         ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือความเสื่อมไปในกายบ้าง
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา                      ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือ
กายัสมิง วิหะระติ                                            ทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ                                ก็หรือว่า สติว่ากายมีอยู่
สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ                                     เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ                              แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้
ปะติสสะติมัตถายะ                                         แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ                                   เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ                            ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆ ในโลกด้วย
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี            ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกาย
วิหะระติ                                                          ในกายเนืองๆ อยู่อย่างนี้
ปฏิกูลปัพพัง                                                    จบข้อกำหนดด้วยกายเป็นของปฏิกูล

ไม่มีความคิดเห็น: