วันจันทร์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

ความเป็นมาแห่งเขตปกครองตนเองสิบสองปันนา

ประวัติเรื่องราวความเป็นมาแห่งสิบสองปันนา แห่งชนชาวไท มีกษัตริย์ปกครองต่อเนืท่องกันมาถึง ๘๐๐ ปี คลิกดูรายละัเอียดด้านล่างนี้นะครับ
http://www.khonkhurtai.org/index.php?option=com_content&view=article&id=1420:2012-07-23-07-28-45&catid=36:2009-11-30-06-15-06

ทำวัตรค่ำ ๒๕๕๖


ทำวัตรค่ำ
เมื่อเข้าประชุมพร้อมกันแล้ว เวลาหัวหน้าทำสักการะ พึงคุกเข่าประณมมือ ครั้นเสร็จแล้ว ผู้เป็นหัวหน้าพึงกล่าวคำอภิวาทว่านำดังต่อไปนี้
อะระหัง สัมมาสัทพุทโธ ภะคะวา,                   พระผู้มีพระภาคเจ้าทางเป็นพระอรหันต์
 ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิฯ                      ข้าพเจ้าอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน
(กราบ)
สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,                          พระธรรมเป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัส
ธัมมัง นะมัสสามิฯ                                           ไว้ดีแล้ว  ข้าพเจ้านมัสการพระธรรม
(กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,          พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าปฏิบัติดีแล้ว
สังฆัง นะมามิฯ                                               ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์
(กราบ)

อภิณหะปัจจะเวกขณะปาฐะ ๒๕๕๖


อภิณหะปัจจะเวกขณะปาฐะ
หันทะ มะยัง อะภิณหะปัจจะเวปขณะปาฐัง     เชิญเถิด เราทั้งหลาย มาสวดอภิณหปัจจเวกขณะปาฐะ
ภะณามะ เส                                                      กันเถิด
ชราธัมโมมหิ ชะรัง อะนะตีโต                          เรามีความแก่เป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้
พฺยาธิธัมโมมหิ พฺยาธิง อะนะตีโต,                   เรามีความเจ็บไข้เป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความเจ็บไข้ไปได้
มะระณะธัมโมมหิ มะระณัง อะนะตีโต เรามีความตายเป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความตายไปได้
สัพเพหิ เม ปิเยหิ มะนาเปหิ                             เราจะละเว้นเป็นต่างๆ คือว่าพลัดพรากจากของรัก
นานาภาโว วินาภาโภ                                       ของเจริญใจทั้งหลายทั้งปวง
กัมมัสสะโกมหิ                                                 เรามีกรรมเป็นของ ตน
กัมมะทายาโท                                                  เราเป็นผู้รับผลของกรรม
กัมมะโยนิ                                                        เรามีกรรมเป็นกำเนิด
กัมมะพันธุ                                                       เรามีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์
กัมมะปะฏิสะระโณ,                                         เรามีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย
ยัง กัมมัง กะริสสามิ,                                        เราจักทำกรรมอันใดไว้
กัลยาณัง วา ปาปะกังวา,                                  ดีหรือชั่วก็ตาม
ตัสสะ ทายาโท ภะวิสสามิ                                เราจักเป็นผู้รับผลของกรรม
เอวัง อัมเหหิ อะภิณหัง ปัจจะเวกขิตัพพัง        เราทั้งหลายพึงพิจารณาอย่างนี้ทุกวันๆ เทอญ

ตังขณิกปัจจเวกขณะปาฐะ ๒๕๕๖


ตังขณิกปัจจเวกขณะปาฐะ
(หัวหน้ำนำ)
หันทะ มะยัง ตังขะณิกปัจจเวกขณะปาฐัง       เราทั้งหลายจงสวดตังขณิกปัจจเวกขณะปาฐะ
ภะณามะ เสฯ                                                   กันเถิด
(รับพร้อมกัน)
.ว่าด้วยจีวร
ปะฏิสังขา โยนิโส จีวะรัง ปะฏิเสวามิ,             เราย่อมพิจารณาโดยแยบคายแล้วนุ่งห่มจีวร
อุณหัสสะ ปฏิฆาตายะ                                     เพื่อบำบัดความร้อน
ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ,                    เพียงเพื่อบำบัดความหนาว
ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะ                เพื่อบำบัดสัมผัสอันเกิดจากเหลือบ ยุง ลมแดด
สัมผัสสานังปะฏิฆาตายะ                                และสัตว์เลื้อยคลานทั้งหลาย
ยาวะเทวะ หิริโกปินะปฏิจฉาทะนัตถัง            และเพียงเพื่อปกปิดอวัยวะ อันให้เกิดความละอาย
.ว่าด้วยบิณบาตร
ปะฏิสังขา โยนิโส ปิณฑปาตัง ปะฏิเสวามิ       เราย่อมพิจารณาโดยแยบคายแล้วฉันบิณฑบาต
เนวะทะวายะ,                                                  ไม่ให้เป็นไปเพื่อความเพลิดเพลินสนุกสนาน
นะ มัณฑะนายะ,                                              ไม่ให้เป็นไปเพื่อความประดับ
นะ วิภูสะนายะ,                                               ไม่ให้เป็นไปเพื่อตกแต่ง
ยาวะเทวะ อิมัสสะ กายัสสะ ฐิติยา,                  แต่ให้เป็นไปเพียงเพื่อความตั้งอยู่ได้แห่งกายนี้
ยาปะนายะ.                                                      เพื่อความเป็นไปได้ของอัตภาพ
วิหิงสุปะระติยา,                                              เพื่อความสิ้นไปแห่งความลำบากทางกาย
พฺรหฺมะจะริยานุคคาหายะ,                              เพื่ออนุเคราะห์แก่การประพฤติพรหมจรรย์
อิติ ปูรานัญจะ เวทะนัง ปะฏิหังขามิ,               ด้วยอาการทำอย่างนี้ เราย่อมระงับเสียได้ซึ่ง
ทุกขเวทนาเก่าคือความหิว,
นะวัญจะ เวทะนัง อุปปาเทสสามิ,                   และไม่ทำทุกขเวทนาใหม่ให้เกิดขึ้น
ยาตฺรา จะ เม ภะวิสสะติ อะนะวัชชะตา           อนึ่ง ความเป็นไปโดยสะดวกแห่งอัตตภาพนี้
จะ ผาสุวิหาโรจาติ                                           ด้วยความเป็นผู้หาโทษมิได้ด้วย
                                                                         และความเป็นอยู่ผาสุก จักมีแก่เรา ดังนี้
.ว่าด้วยเสนาสนะ
ปะฏิสังขา โยนิโส เสนาสะนัง ปะฏิเสวามิ        เราย่อมพิจารณาโดยแยบคายแล้วใช้สอยเสนาสนะ
ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ,                    เพียงเพื่อบำบัดความหนาว
อุณฺหัสสะ ปะฏิฆาตายะ,                                  เพื่อบำบัดความร้อน
ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิงริงสะปะ              เพื่อบำบัดสัมผัสกันเกิดจากเหลือบ ยุง ลม แดด
สัมผัสสานังปะฏิฆาตายะ                                และสัตว์เลื้อยคลานทั้งหลาย
ยาวะเทวะ อุตุปริสสะยะวิโนทะนัง                  เพียงเพื่อบรรเทาอันตรายอันจะพึงมีจากดินฟ้า
ปะฏิสัลลานารามัตถัง,                                     อากาศ และเพื่อความเป็นผู้ยินดีอยู่ได้
ในที่หลีกเร้นสำหรับภาวนา
๔.ว่าด้วยคิลานเภสัข
ปะฏิสังขา โยนิโส คิลานะปัจจะยะเภสัชชะ      เราย่อมพิจารณาโดยแยบคายแล้วบริโภคเภสัช
ปะริกขารัง ปะฏิเสวามิ,                                   บริขารอันเกื้อกูลแก่คนไข้
ยาวะเทวะ อุปปันนานัง เวยยาพาธิกานัง         เพียงเพื่อบำบัดทุกขเวทนาอันบังเกิดขึ้นแล้ว มี
เวทะนานัง ปะฏิฆาตายะ,                                อาพาธต่างๆ เป็นมูล
อัพฺยาปัชฌะปะระมะตายาติ,                           เพื่อความเป็นผู้ไม่มีโรคเบียดเบียน เป็นอย่างยิ่ง ดังนี้

สังเวคะปะริทีปะกะปาฐะ ๒๕๕๖


สังเวคะปะริทีปะกะปาฐะ
อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปปันโน                        ในโลกนี้ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ                                  ได้เกิดขึ้นแล้ว                                     
ธัมโม จะ เทสิโต                                               และพระธรรมที่ทรงแสดงแล้ว
นิยยานิโก                                                         เป็นเครื่องนำสัตว์ออก
อุปะสะมิโก                                                      เป็นไปเพื่ออันสงบระงัด
ปะรินิพพานิโก,                                               เป็นไปเพื่ออันดับรอบ
สัมโพธะคามี                                                    ให้ถึงความตรัสรู้
สุคะตัปปะเวทิโต,                                           พระสุคตประกาศแล้ว 
มะยันตัง ธัมมัง สุตฺวา เอวัง ชานามะ,              เราได้ฟังธรรมนั้นแล้วจึงรู้อย่างนี้ว่า
ชาติปิ ทุกขา,                                                   แม้ความเกิด เป็นทุกข์
ชะราปิ ทุกขา,                                                  แม้ความแก่ เป็นทุกข์
มะระณัมปิ ทุกขัง,                                            แม้ความตาย เป็นทุกข์
โสกะปริเทวะทุกขะ                                          แม้ความแห้งใจ ความร่ำไรเพ้อ ความทุกข์
โทมะนสสุปายาสาปิ ทุกขา,                             ความเสียใจ ความคับแค้นใจ เป็นทุกข์                       
อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข,                             ความประจวบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก เป็นทุกข์
ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข                                   ความพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นทีรัก เป็นทุกข์
ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง                     ปรารถนาอยู่ย่อมไม่ได้ แม้อันใด แม้อันนั้นเป็นทุกข์ 
สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา,           โดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้ง เป็นทุกข์
เสยยะถีทัง,                                                      กล่าวคือ
รูปูปาทานักขันโธ                                            อุปาทานขันธ์คือรูป
เวทะนูปาทานักขันโธ,                                     อุปาทานขันธ์คือเวทนา
สัญญูปาทานักขันโธ,                                       อุปาทานขันธ์คือสัญญา
สังขารูปาทานักขันโธ,                                     อุปาทานขันธ์คือสังขาร
วิญญาณูปาทานักขันโธ,                                  อุปาทานขันธ์คือวิญญาณ
เยสัง ปะริญญายะ,                                           เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้า ยังดำรงพระชนม์อยู่
ธะระมาโน โส ภะคะวา,                                   ย่อมแนะนำ สาวกทั้งหลายเพื่อให้กำหนดรู้
เอวัง พะหุลัง สาวะเก วิเนติ,                            อุปาทานขันธ์ ๕ อย่างนี้โดยมาก  

เอวัง ภาคา จะ ปะนัสสะ ภะคะวะโต                ก็แลอนุสาสนีเป็นอันมากของพระผู้มีพระภาคเจ้า
สาวะเกสุ อะนุสาสนี พะหุลา ปะวัตตะติ,         พระองค์ นั้นเป็นไปในสาวกทั้งหลาย มีส่วนอย่างนี้ 
รูปัง อะนิจจัง,                                                  รูป ไม่เที่ยง
เวทะนา อะนิจจา                                             เวทนา ไม่เที่ยง
สัญญา อะนิจจา,                                              สัญญา ไม่เที่ยง
สังขารา อะนิจจา,                                            สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง
วิญญาณัง อะนิจจัง,                                         วิญญาณ ไม่เที่ยง
รูปัง อะนัตตา,                                                  รูป เป็นอนัตตา
เวทะนา อะนัตตา                                             เวทนา เป็นอนัตตา
สัญญา อะนัตตา,                                              สัญญา เป็นอนัตตา
สังขารา อะนัตตา,                                            สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา
วิญญาณัง อะนัตตา                                          วิญญาณ เป็นอนัตตา
สัพเพ สังขารา อะนิจจา                                   สังขารทั้งหลายทั้งปวง ไม่เที่ยง
สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ.                                  ธรรมทั้งหลายทั้งปวง เป็นอนัตตา ดังนี้
เต(ตา) มะยัง โอติณณามะหะ,                          พวกเราทั้งหลายเป็นอัน ชาติ
ชาติยา,ชะรามะระเณนะ,                                  ชรา มรณะ โสกะ
โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ           ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส                                     
อุปายาเสหิ,                                                      อุปายาส ครอบงำแล้ว                                                  
ทุกโขติณณา,                                                   ชื่อว่าเป็นผู้มีทุกข์ครอบงำแล้ว
ทุกขะปะเรตา,                                                   มีทุกข์เป็นเบื้องหน้าแล้ว
อัปเปวะนามิมัสสะ เกวะลัสสะ                         ไฉน ความทำที่สุดแห่งทุกทั้งมวลนี้
ทุกขักขันธัสสะอันตะกิริยา ปัญญาเยถาติ.       จะพึงปรากฏ
(ฆราวาส เว้นตรงนี้ไปสวดต่อด้านท้ายสุด)
จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง                  เราทั้งหลาย ถึงแล้วซี่งพระผู้มีพระภาคเจ้า
อุททิสสะ อะระหันตัง สัมมาสัมพุทธัง,            แม้ปรินิพพานนานแล้ว พระองค์นั้น
สัทธา อะคารัสฺมา อะนะคาริยัง ปัพพะชิตา,     ผู้มีศรัทธาออกบวชจากเรือนเป็นอนาคาริกะ

ตัสฺมิง ภะคะวันติ พฺหรหฺจะริยัง จะรามะ,         ประพฤติพรหมจรรย์ ในพระผู้มีพระภาคเจ้า
ภิกขูนัง     (สามะเณรานัง)                               พระองค์นั้น
 สิกขาสาชีวะสะมาปันนา,                               ถึงพร้อมด้วยสิกขาสาชีพของภิกษุทั้งหลาย
ตัง โน พฺรหฺมจะริยัง อิมัสสะ เกวะลัสสะ          ขอพรหมจรรย์ของเราทั้งหลายนั้น จงเป็นไป
ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ.       เพื่ออันกระทำที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ เทอญ.
(ฆราวาส สวดดังนี้)
จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง                  เราทั้งหลายขอถึงพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์
สะระณังคะตา,                                                 นั้นแม้ปรินิพพานนานมาแล้ว พระองค์นั้น เป็นสรณะ
ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ,                                 ซึ่งพระธรรมด้วย ซึ่งพระสงฆ์ด้วย
ตัสสะ ภะคะวะโต สาสะนัง ยะภาสติ               กระทำในใจอยู่ ปฏิบัติตามอยู่ ซึ่งคำสอนของพระผู้
ยะถาพะลังมะนะสิกะโรมะ,                             มีพระภาคเจ้านั้นตามสติกำลัง
อะนุปะฏิปัชชามะสา สา โน ปะฏิปัตติ,            ขอให้การปฏิบัตินั้นๆ ของเรา
อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ                 จงเป็นไปเพื่ออันทำที่สุด
อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุฯ                              แห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ เทอญ
14-8-55 -19-2-56