วันจันทร์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Meditation Handbook 11

ถ้าจะย่นอริยสัจ ๔ ให้สั้นเข้าไปอีกอย่างหนึ่งก็คือ                                Another, even briefer way to express the four Noble Truths
is as follows:
๑ ลมหายใจเข้าออกเป็นทุกขสัจ                                          The in-and-out breath is the truth of stress.
๒ ไม่รู้ลมหายใจเข้า ไม่รู้จักลมหายใจออก                        Not being aware of the in-breath, not being aware of the
เป็นสมุทัยสัจ หรือ อวิชชาโมหะ                                         out breath: This is the cause of stress—avijja/moha,
                                                                                                Obscured, deluded knowledge.
๓ ทำให้แจ้งในกองลมทั้งปวงจนละได้ไม่ยึดถือ                               Seeing into all aspects of the breath so clearly that of stress.
เรียกว่า นิโรธสัจ                                                                    you can let them go without attachment: This is the
                                                                                                Disbanding of stress.
๔มีสติสัมปชัญญะประจำอยู่ในกองลมเรียกว่า                  Being constantly mindful and aware of all aspects of the
มรรคสัจ                                                                                                 Breath: This is the Path to the disbanding of stress.
เมื่อปฏิบัติได้เช่นนี้ก็เรียกว่า เป็นผู้ปฏิบัติถูกต้อง                              When you can do this, you can say that you are unobscured
ตามแนวทางของอานาปาฯ เป็นผู้มีวิชา อาจรู้ของ                              awareness(vijja). You can know all Four Truths clearly.
จริงทั้ง ๔ อย่างได้อย่างชัดเจน ย่อมถึงวิมุติ วิมุตินั้นก็คือ You can attain release. Release is a mind which doesn’t
ดวงจิตที่ไม่เข้าไปติดอยู่ในเหตุฝ่ายต่ำ ผลฝ่ายต่ำ                                fasten into base causes and effects—i.e. the disbanding of
อันได้แก่ทุกข์ สมุทัย ไม่ติดอยู่ในเหตุฝ่ายสูง  ผลฝ่ายสูง   stress; or into noble causes and effects—i.e. the disbanding
คือ มรรค และ นิโรธ ไม่ติดอยู่ในสิ่งที่ให้เรารู้ ไม่ติด        of stress and the Path to its disbanding; a mind unattached to
อยู่ในความรู้ ไม่ติดอยู่ในรู้                                                   the things which cause it to know, unattached to knowledge,
unattached to knowing:
แยกสภาพธรรมไว้เป็นส่วนๆ                                               When you can separate these things, you have mastered
ได้เช่นนี้ ชื่อว่าเป็นผู้มีวิชา วิมุติ คือรู้จักเบื้องต้น                                the sill of release—i.e. when you know what forms the
เบื้องปลายและท่ามกลาง วางไปตามสภาพแห่งความ        beginning, what forms the end and what lies in between,
เป็นเอง ที่เรียกว่า สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา                                                letting them be as they are on their own, in line with
the phrase:
Sabbe dhammā anatā: All phenomena are not-the –self.
การติดอยู่ในสิ่งที่ให้เราคือ ธาตุขันธ์ อายตนะเหล่านี้เป็น To be attached to the things which cause us to know--    
กามุปปาทาน ติดวิชาความรู้ของตัวเป็น ทิฏฐุปาทาน        the elements, khandha, the senses and their objects-- is
ไม่รู้จักตัวรู้คือพุทธะ สีลพัตตุปาทาน ย่อมเป็นเหตุ           termed kāmupādāna. To attached to knowledge is termed
ให้หลงกายสังขาร วจีสังขาร และจิตสังขาร                        ditthupadana. To be unaquainted with pure knowing in and
อันเกิดจากอวิชชา                                                                 of itself( buddha) is termed sīlabbatupādāna. And when
we are attached in this way, we are bound to be deluded
by the factors which fashion the body, speech and the mind,
all of which arise from obscured awareness—avijjā.
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์ย่อมเป็นผู้สมบูรณ์             The Buddha was a complete master of both cause and
ทั้งเหตุทั้งผล พระองค์มิได้เข้าไปยึดในเหตุฝ่ายต่ำ                             effect, without being attached either to base causes
ผลฝ่ายต่ำ มิได้เข้าไปยึดในเหตุฝ่ายสูง ผลฝ่ายสูง                                and base effects, or to noble causes and noble effects.
อยู่นอกเหตุเหนือผล สุขทุกข์พระองค์ก็มีใช้                      He had at his disposal both stress and ease, but was
แต่พระองค์ไม่ติดสุข ติดทุกข์ ดี ชั่ว พระองค์                    attached to neither. He fully knew both good and evil,
ก็มีอยู่โดยสมบูรณ์ อัตฺตา และ อนัตตา พระองค์                                he was fully equipped with both self and not-self, but
ก็มีอยู่โดยสมบูรณ์ แต่พระองค์ไมได้ไปยึดถือ                  was not attached to any of these matters. He had at his
ในเรื่องราวเหล่านั้น วัตถุอันเป็นที่ตั้งสมุทัยก็มี                 disposal the objects which can act as the basis for the cause
ใช้ แต่พระองค์ก็มิได้ติด มรรค คือปัญญา พระองค์          of stress, but was not attached to them. The Path—
ก็มีใช้ พระองค์รู้จักแต่งพระองค์ด้วยพิธีการต่างๆ            discernment—was also at his disposal: He had a sense of
เช่น แต่งโง่ แต่งฉลาด แล้วรู้จักใช้โง่ ใช้ฉลาด                   how to appear either ignorant or shrewd, and of how to use
ในกิจพระศาสนา ส่วนนิโรธนั้นเล่า พระองค์                     both ignorance and shrewdness in his work of spreading
ก็มีใช้มิได้ยึดถือ คือไม่มีการติดในสิ่งเหล่านั้น                  the religion. And as for the disbanding of stress, he had
จึงเรียกว่า เป็นผู้สมบูรณ์ได้จริง                                           it at his disposal, but didn’t cling to it, i.e. he wasn’t
attached to it, which is why we can truly say that his mastery
was complete.
ก่อนทีพระองค์จะละได้เช่นนั้น พระองค์ก็ต้อง                                Before the Buddha was able to let go of these things in this
บำเพ็ญให้เกิดมีขึ้นโดยสมบูรณ์เสียก่อน แล้วจึง                                way, he first had to work at giving rise to them in full
ค่อยปล่อยวางเป็นการปล่อยวางด้วยความสมบูรณ์           measure. Only then could he put them aside. His was a letting
มั่งมี มิใช่จะวาง จะปล่อยด้วยความยากจนอย่าง                                go from abundance, unlike that of the ordinary person, who
บุคคลธรรมดา แม้พระองค์ทรงวางแล้วก็ยังมีใช้อยู่          ‘lets go’ out of poverty. Even though the Buddha let these
พระองค์มิได้ทรงปฏิเสธ ในการที่พระองค์ได้บำเพ็ญ       things go, they were still at his disposal. He never dismissed
ศีล สมาธิ ปัญญามาตั้งแต่ยังมิได้ตรัสรู้ จนได้รู้แจ้ง            the virtue, concentration and discernment he had worked at
เห็นจริง แล้วยังทรงใช้ศีล สมาธิ และปัญญาอยู่                  perfecting up to the day of his Awakenment. He continued
ทุกประการจนวันเสด็จดับขันธ์เข้าสู่ปรินิพพาน                                using every aspect of virtue, concentration and discernment
ตราบถึงขณะจิตที่จะปรินิพพานนั้นก็ยังบำเพ็ญสมาธิ       to the day he entered total nibbāna. Even the moment he was
สมาบัติอยู่ คือพระองค์ได้เสด็จดับขันธ์ปรินพพานใน      about to nibbāna, he was practicing his full command of
ระหว่างรูปฌานและอรูปฌาน                                              concentration—i.e. he entered total nibbāna between the
physical and non-physical levels of jhāna.
เพราะฉะนั้น พุทธบริษัททั้งหลายก็ไม่น่าจะปฏิเสธ           Therefore, we shouldn’t dismiss virtue, concentration and
ศีล สมาธิ ปัญญากันเสีย คนบางคนจะถือศีลก็กลัว            discernment. Some people won’t observe the precepts
สีลพัตตฯ บางคนจะบำเพ็ญสมาธิก็กลัวโง่กลัวบ้า                             because they are afraid of becoming bound to them. Some
ก็มี แท้จริงคนเราก็มีความโง่ความบ้าประจำอยู่แล้ว          people won’t practice concentration because they are afraid
การกระทำสมาธิจิตนั้น เป็นเรื่องแก้โง่แก้บ้าต่างหาก        of becoming ignorant or going insane. The truth of the matter
ถ้าได้ศึกษาโดยทางที่ถูกต้องย่อมเกิดปัญญาอันบริสุทธิ์   is that we are already normally ignorant, already normally
เหมือนเพชรพลอยที่จารนัยแล้ว ย่อมเกิดแสงขึ้นในตัว    insane, and that to practice centering the mind is what
ของมันเองโดยธรรมชาตินั้นแล จึงเรียกว่าเป็นตัว                             will end our ignorance and cure our insanity. Once we have
ปัญญาที่แท้เกิดขึ้นเฉพาะตัว                                                 trained ourselves correctly, we will give rise to pure
discernment, like a cut jewel which gives off light by its
very nature. This is what qualifies as true discernment.
It arises for us individually, and is termed paccattaṃ: We
can give rise to it, and know it, only for ourselves alone.
แต่โดยมากคนเราเข้าใจผิด ไม่รู้ลักษณะของปัญญา           Most of us, however, by and large misunderstand the
ไปถือเอาปัญญาไม่แท้มาทับของแท้เสีย คล้ายๆ                                nature of discernment. We take imitation discernment,
กับว่าเราปรอทมาทากระจกแล้วมองเห็นเงาของตัว          adulterated with concepts, and use it to smother the real
และคนอื่นได้ โดยอาศัยของอื่นมาฉาบทา ก็เข้าใจว่า        thing, like a person who coats a piece of glass with mercury
ตัวเป็นผู้ฉลาดมองเห็นธรรมลักษณะ อย่างนี้ก็เท่ากับ        so that he can see his reflection and that of others, thinking
ว่าลิงส่องกระจกเงาเท่านั้นเอง ตัวเดียวก็จะต้องกลาย       that he’s found an ingenious way of looking at the truth.
เป็นสองตัว ก็จะเล่นเงาของตนเองอยู่อย่างนี้เรื่อยไป        Actually, he’s nothing more than a monkey looking in
ถ้าปรอทหลุดออกจากบานกระจกเมื่อไร ลิงตัวนั้น          mirror: One monkey becomes two, and will keep playing
ก็จะหน้าตกซบเซาอยู่โดยไม่รู้ว่าเงานั้นมันมาจากเรื่อง      with its reflection until the mercury wears off, at which
อะไร ฉันใด                                                                           at which point it will become crestfallen, not knowing what
บุคคลผู้ที่ได้ปัญญาที่ไม่แท้ไม่จริง คิดเอาเดาเอาตาม         the reflection came from in the first place. So it is when we
สัญญารมณ์ว่าตนรู้ตนเห็น โดยปราศจากความรู้สึก           gather imitation discernment, unwittingly, by thinking and
ตนเองแล้วก็จะได้รับความทุกข์โศก ในคราวประสพ      conjecturing in line with concepts and pre-occupations we
กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้าเมื่อภายหลัง                    think we have perceived: We’re headed for sorrow when
                                                                                                coming face-to-face with future events.
ฉะนั้น ส่วนสำคัญของปัญญาโดยธรรมชาติใน                  Thus, the essential factor in natural discernment comes
ทางพระพุทธศาสนา ย่อมเกิดขึ้นจากการอบรมดวงจิต     solely from training the mind to be like a diamond which
โดยเฉพาะ  เมื่อแสงเพชรที่เกิดในตัวของมันเองย่อมมี     gives off its own light—surrounded by radiance whether
รัศมีแผ่โดยรอบและเกิดแสงสว่างได้ทั้งในที่มืดและ         in dark places or bright. A mirror is useful only in places
ที่สว่าง ส่วนเงาในกระจกนั้นใช้ได้สำหรับในสถานที่       that are already well-lit. If you take it into the dark, you
มีแสงสว่างมองเห็น ถ้าเอาเข้าไปในที่มืดแล้วจะใช้            can’t use it to see your reflection at all. But a cut jewel
ส่องเงาตัวเองไม่ได้เลย ไม่เหมือนแสงเพชรแสง                                which gives off its won light is brilliant everywhere. This
พลอยทีจารนัยแล้ว ย่อมมีแสงได้ทั่วไป                                             is what the Buddha meant when he taught that there are
ฉะนั้น พระองค์จึงได้ทรงแสดงไว้ว่า ปัญญาไมมีที่           no closed or secret places in the world where discernment
ลับและปิดบังได้ในโลกนั้นแล เรียกว่า ปัญญารัตนัง        cannot penetrate. This ‘jewel of discernment’(paññā-ratanaṃ)
เป็นตัวที่จะทำลายเสียได้ซึ่งอวิชชา ตัณหา และ                                 is what will enable us to destroy craving, attachment and
อุปาทาน ก็จะบรรลุคูณธรรมอย่างสูงสุด คือ                      obscured awareness, and to attain to the highest excellence:
พระนิพพาน ไม่เจ็บ ไม่ตาย ไม่สาบ ไม่สูญ มีอยู่                                nibbāna, free from pain, death, annihilation and extinction,
โดยธรรมชาติของธรรมเรียกวา อมต                                  existing naturally by virtue of the quality called
deathlessness(amata-dhamma).
โดยมากคนเรามักจะต้องการแต่ปัญญา และวิมุติ                               By and large, we tend to be interested only in discernment
เมื่อเป็นเช่นนี้ก็ไม่อาจจะเป็นไปได้ เอะอะก็ อนิจจัง         and release: At the drop of a hat we want to start right out
ทุกขัง อนัตตา กันเสียเลยทีเดียว สมเด็จพระสัมมา            with teachings on stress, inconstancy and not-self--and
สัมพุทธเจ้า ก่อนทีพระองค์จะปฏิเสธ อนิจจํ ของ                              when this is the case, we’ll never get anywhere. Before
ไม่เที่ยงนั้น พระองค์ได้ทำ ได้รู้ จนปรากฏเห็นเป็นของ   the Buddha taught aniccaṃ—that things are inconstant-- he
เที่ยงเสียก่อนทีจะปฏิเสธ ทุกขํ พระองค์ก็ได้ทำทุกข์        had worked at knowing them until they had revealed their
อันนั้นให้เป็นสุขเสียก่อน และก่อนทีจะปฏิเสธ อนตฺตา   constancy. Before teaching dukkhaṃ—that things are
ทีไม่ใช่ตัวตนนั้น พระองค์ก็ได้ทำ อนตฺตา ให้เป็น อตฺตา stressful—he had turned that stress into please and ease.
ขึ้นเสียก่อน  จึงได้เห็นของเที่ยงของจริงทีแอบอิงอยู่       And before teaching anattā—that things are not the self--
ใน ทุกขํ อนิจจํ อนตฺตา แล้วก็ได้รวบรวมยอดแห่งธรรม he had turned what is not the self into a self, and thus
เหล่านั้นเข้ามาเป็นอันเดียว เช่นทำ ทุกขํ อนิจจํ อนตฺตา    he was able to see what is constant and true, lying hidden in
ให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน นี้เป็นหมวดหนึ่ง นับเป็น       what is inconstant, stressful and not the self. He then
พวกเดียวกัน มีลักษณะเสมอกันหมดทั้งโลก                     gathered all that is inconstant, stressful and not the self.
He then gathered all of these qualities into one. E.g. he
gathered all that is inconstant, stressful and not the self
into one and the same thing: fashiongings(saṅkhāra)
viewed in terms of the world—a single class, equal
everywhere throughout the world.
ส่วน นิจจํ สุขํ อตฺตา นี้เห็นอีกหมวดหนึ่ง                            As for what is  constant,
เป็นสังขารธรรม พระองค์ทรงปล่อยได้แล้วในส่วน         pleasant and self, this was another class: fashionings
สังขารโลกและสังขารธรรม ไม่ข้องอยู่ในของเที่ยงและ  viewed in terms of the dhamma. And then he let go of both
ของไม่เที่ยง ไม่ข้องอยู่ในทุกข์และสุข ไม่ข้องอยู่                             class, without getting caught up on’ constant’ or ‘inconstant’,
ในอัตตาและอนัตตา จึงได้นามว่า วิมุติ วิสุทธิ                    ‘stress’ or ‘ease’, ‘self’ or ‘ not the self’. Thus we say
นิพพาน ไม่ต้องไปยึดสังขารธรรมและสังขารโลก           he attained release, purity and nibbāna—liberation-- having
no need to latch on to fashionings at all—whether viewed
                                                                                                in terms of the world or the dhamma.
ทั้งหมดนี้ เป็นลักษณะของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่           This was the nature of the Lord Buddha’s practice. But  
พระองค์ได้ทรงบำเพ็ญมา แต่ปฏิปทาของพุทธบริษัท      as for our own practice, most of us like people who have
ทั้งหลายส่วนมากมักจะเป็นผู้รู้ก่อนเกิด เป็นผู้เลิศ                              everything figured out beforehand and have succeeded
ก่อนทำ ต้องการแต่ความละความพ้นกันฝ่ายเดียว                             even before they start. I.e. we want simply to let and attain
ถ้าละโดยปราศจากเหตุอันสมบูรณ์แล้วมันจะเลอะ           peace and release. But if we haven’t laid the full groundwork,
ถ้าพ้นกันโดยปราศจากเหตุแล้วมันจะผิด สำหรับคน        our letting to is bound to be lacking: Our peace is bound to
ผู้ปรารถนาดี อยากเป็นคนดี เหตุประกอบของตน                            be piece-meal; our release is bound to be wrong. Those
โดยอาการเช่นนั้นมีแล้วหรือยัง ถ้าหากว่าไม่ต้องการ       of us who sincerely mean well and want only the highest good
สร้างเหตุแห่งความละ ความพ้นโดยสมบูรณ์                     should ask ourselves: have we laid the proper foundation?
แล้วพวกเราจะพ้นไปได้อย่างไร                                         If we don’t lay the proper foundation of release and letting
                                                                                                Go, how will we ever get free?
พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ว่า ศีล ปราบกิเลสอย่าง                               The Buddha taught that virtue can overcome common
หยาบที่เป็นวิติกมโทษที่เกิดขึ้นทางกาย ทางวาจา                              defilements, the faults which occur by means of word
ออกเสียได้ สมาธิปราบกิเลสอย่างกลางมีกามฉันทะ         and deed; that concentration can overcome such intermediate
พยาปาทะ ถีนมัทธะ อุทัจจะกุกกุจจะ วิจิกิจฉา                  defilements as sensual inclinations, ill will, torpor,
เป็นต้น ส่วนปัญญาปราบกิเลสอย่างละเอียดมี                   restlessness and uncertainty; and that discernment can
อวิชชา ตัณหา อุปาทาน เป็นต้น                                           overcome such subtle defilements as craving, attachment
and obscured awareness.
คนบางคนทีมีปัญญาฉลาดหลักแหลม สามารถ                  Yet some people whose discernment is sharp, who can
ที่จะอธิบายข้ออรรถข้อธรรมได้อย่างชัดเจนแจ่ม                             clearly explain subtle points of doctrine, can’t seem to
แจ้ง แต่กิเลสเพียงหยาบ ๆ อันอันเป็นคู่ปรับแห่ง                               shake off the more common defilements that even virtue can
ศีลแค่นี้ก็ยังละกันไม่ค่อยจะออก นี่คงจะเป็น                    overcome. Something, then ,must be tacking in their virtue,
เพราะขาดความสมบูรณ์แห่งศีล สมาธิ ปัญญา                    concentration and discernment.
กระมัง จึงได้เป็นอย่างนั้น                                                    Their virtues are probably all on the surface,
ศีลก็คงเป็นศีลอย่างเปลือก ๆ สมาธิก็คงเป็นสมาธิ             their concentration is probably splotchy and stained,
เปื้อนเปรอะ ปัญญาก็คงเป็นปัญญาอย่างเลอะเลือน          their discernment a smeared-on gloss--
เคลือบเอา เสมอเหมือนกับดัวยบานกระจกที่ทา                                like the glass coated with mercury—which is why they
ด้วยปรอทฉะนั้น จึงไม่สามารถเป็นเหตุให้สำเร็จ                              can’t attain the goal. Their actions fall
ความมุ่งหวังของพุทธบริษัทได้ ตกอยู่ในลักษณะ                             under the old saying: Keeping a sword outside the scabbard—
มีดคมนอกฝัก คือฉลาดในเชิงพูด เชิงคิด แต่ดวงจิต          i.e. having a way with words, but no center for the mind;
ไม่มีสมาธิ นี่เรียกวาคมนอกฝัก ฟักไข่นอกรัง                    laying an egg outside the nest—looking for goodness
คือแสวงหาความดีแต่ในภายนอก ไม่อบรมจิต                  only outside,without training the mind to be centered;
ของตนให้เป็นไปในทางสมาธิ ปักหลักกองทราย                             resting of foundation on the sand--
คือเที่ยวยึดถือเอาสิ่งที่ไม่เป็นสาระแก่ตนมาเป็น                                i.e. trying to find security in things of no substance. All of
สรณะที่พึ่งย่อมให้โทษ  เมื่อเป็นเช่นนี้ก็ชื่อว่า                    this is bound to bring harm. Such people have yet to find
เป็นผู้ที่ยังไม่ได้ที่พึ่งอันเป็นแก่นสาร                                  a worthwhile refuge.
ฉะนั้น จึงควรที่จะต้องสร้างเหตุให้เป็นไปด้วยดี                               Thus, we should lay the groundwork and put the causes
เพราะธรรมทั้งหลายย่อมไหลเทมาแต่เหตุ ดังนี้                 into good working order, because all the qualities we
 hope for come springing from causes.
อตฺตนา โจทยตฺตานํ ปฏิมํ เส ตมตฺตนา                                                Attanā codayattānaṃ patimaṅse tamattanā
จงเตือนตน ฝึกฝนใจด้วยตนเอง จงเร่งพิจารณา                 Rouse yourself.Train your own heart.Start judging your
(อานาปาฯ)ของตนด้วยเทอญ                                                               own (in-and-out breath).


ไม่มีความคิดเห็น: