วันพฤหัสบดีที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2555

สติปัฏฐานะปาฐะ


 สติปัฏฐานะปาฐะ
อัตถิ โข เตนะ ภะคะวะตา ขานะตา                  หนทางสายนี้ ซึ่งเป็นทางไปสายเอก ที่พระผู้มี
ปัสสะตา อะระหะตา สัมมาสัมพุทเธนะ           พระภาคเจ้าทรงรู้แจ้งเห็นจริง อรหันตสัมมาสัม
เอกายะโน อะยัง มัคโค                                     พุทธเจ้าพระองค์นั้น ได้ตรัสไว้โดยชอบ
สัตตานัง วิสุทธิยา                                           เพื่อความหมดจดวิเศษของสัตว์ทั้งหลาย
โสกะปะริเทวานัง สะมะติกะมายะ                   เพื่อก้าวล่วงความโศกและความร่ำไร
ทุกขะโทมะนัสสังนัง อัตถังคะมายะ                เพื่อความอัศดงค์ดับไปแห่งทุกข์และโทมนัส
ญายัสสะ อะธิคะมายะ                                     เพื่อบรรลุญายธรรม
นิพพานัสสะ สัจฉิกิริยายะ                               เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน มีอยู่แล
ยะทิทัง จัตตาโร สติปัฏฐานะ                           หนทางสายนี้ ก็คือ สติปัฏฐาน
กะตะเม จัตตาโร                                              สติปัฏฐาน มีอะไรบ้าง
.อิธะ ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ            ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ ย่อมเป็นผู้พิจารณา
อาตาปี สัมปะชาโน สะติมา                             เห็นกายในกายอยู่เป็นประจำ มีความเพียร
วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง                  เครื่องเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ
. เวทะนาสุ เวทะนานุปัสสี วิหะระติ             ถอนความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้
อาตาปี สัมปะชาโน สะติมา                              เธอย่อมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลาย
วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง                  อยู่เป็นประจำ มีความเพียรเครื่องเผากิเลส
มีสัมปชัญญะ มีสติ
. จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ                        ถอนความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้
อาตาปี สัมปะชาโน สะติมา                              เธอย่อมพิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่เป็นประจำ
มีสัมปชัญญะ มีสติ
วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง                  ถอนความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้
.ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี วิหะระติ                      เธอย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมอยู่เป็น
อาตาปี สัมปะชาโน สะติมา                              ประจำ มีสัมปชัญญะ มีสติ
วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง                  ถอนความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้
. กะถัญจะ ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ  ภิกษุย่อมเป็นผู้พิจารณาเห็นกายในกายอยุ่เป็น
ประจำอย่างไรเล่า
อัชฌัตตังว่า กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ           ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมพิจารณาเห็นกายใน
กายในกายเป็นภายในบ้าง
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ          ย่อมพิจารณาเห็นกายในภายนอกบ้าง
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี          ย่อมพิจารณาเห็นกาย ทั้งกายใน
วิหะระติ                                                           และภายนอกบ้าง
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา อายัสมิง วิหะระติ   ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสมิง วิหะระติ          ย่อมพิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมไปในกายบ้าง
สะมุทะยะวะธัมมานุปัสสี วา กายัสมิง             ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือความเกิดขึ้นและ
วิหะระติ                                                           ความเสื่อมไปในกายบ้าง
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ                                 ก็หรือว่า ความระลึกว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่
สติปัจจุปัฏฐิตา โหติ                                        เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะฏิสะติมัตตายะ  แค่เพียงสักว่าเป็นทีอาศัยระลึกแค่เพียงสักวาเป็นที่รู้ 
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ                                    เธอย่อมไม่ติดอยู่และ
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ                            ย่อมไม่ยึดมั่นถือมั่นไรๆ ในโลก
เอวัง โข ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ         ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆ อยู่อย่างนี้แล

ไม่มีความคิดเห็น: