วันพุธที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

มหาสติปัฏฐานสูตร 6 นวสีวถิกาปัพพพัง


นวสีวถิกาปัพพพัง                                          จบข้อกำหนดด้วยป่าช้า ๙ ข้อ
1 ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ                         ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง                           เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสรีระผ ซากศพ)
สีวะถิกาย ฉัฑฑิตัง                                          ที่เขาทิ้งไว้แล้วในป่าช้า
เอกาหะมะตัง วา                                             ตายแล้ววันหนึ่ง
ทะวีหะมะตัง วา                                              หรือตายแล้ว วัน
ตีหะมะตัง วา                                                  หรือตายแล้ว วัน
อุทธุตาตะกัง วินีละกัง                                     อันพองขึ้น สีเชียวน่าเกลียด
วิปุพพะกะชาตัง                                              เป็นสรีระมีน้ำเหลืองไหลน่าเกลียด
โส อิเมะเมวะ กายัง อุปสังหะระติ                   เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า
อะยัมปิ โข กาโย                                              ถึงร่างกายอันนี้เล่า
เอวังธัมโม                                                        ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา
เอวัง ภาวี                                                         คงเป็นอย่างนี้
เอวัง อะนะตีโตติ                                             ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ   ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเป็นภายในบ้าง
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ          ย่อมพิจารณาเห็นกายเป็นภายนอกบ้าง
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี         ย่อมพิจารณาเห็นกายทั้งภายใน
วิหะระติ                                                          ทั้งภายนอกบ้าง
สมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสมิง วิหะระติ   ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ความเกิดขึ้นในกายบ้าง
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสมิง วิหะระติ         ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือความเสื่อมไปในกายบ้าง
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสมิง       ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือทั้งความเกิดขึ้น
วิหะระติ                                                          ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ                                ก็หรือสติว่ากายมีอยู่
สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ                                     เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น
ยาวะเทวะ ญาณมัตตายะ ปะติสสะติมัตตายะ            เพียงแต่สักว่าเป็นที่รู้ เพียงแต่สักว่าเป็นที่อาศัยระลึก
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ                                   เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ                            ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆ ในโลกด้วย
เอวัมปิ  ภิกขะเว ภิกขุ                                       ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกาย
กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ                              ในกายเนืองๆ อยู่อย่างนี้
2 ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ                         ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยุ่อีก
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง                           เหมือนกะว่าพึงเห็นสรีระ(ซากศพ)
สีวะถิกาย ฉัทฑฑิตัง                                       ที่เขาทิ้งไว้แล้วในป่าช้า
กาเกหิ วา ขัชชะมานัง                                     อันฝูงกาจิกกินอยู่บ้าง
คิชเฌหิ วา ขัชชะมานัง                                    ฝูงแร้งจิกกินอยู่บ้าง
กุลเลหิ วา ขัชชะมานัง                                     ฝูงนกตระกรุมจิกกินอยู่บ้าง
สุวาเณหิ วา ขัชชะมานัง                                  หมู่สุนัขกัดกินอยู่บ้าง
สิงคาเลหิ วา ขัชชะมานัง                                 หมู่สุนัขจิงจอกกัดกินอยู่บ้าง
วิวิเธหิ วา ปาณกะชาเตหิ ขัชชะมานัง             หมู่สัตว์ตัวเล็กๆ ต่างๆ กัดกินอยู่บ้าง
โส อิเมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ                 เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า
อะยัมปิ โข กาโย                                              ถึงร่างกายอันนี้เล่า
เอวังธัมโม                                                        ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา
เอวังภาวี                                                          คงเป็นอย่างนี้
เอวัง อะนะตีโตติ                                             ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ   ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็น
กายในกายเป็นภายในบ้าง
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ          ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง
อัชฌัตตะพะหิทธา วา                                     ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย
กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ                              ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา                               ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา
กายัสมิง วิหะระติ                                            คือ ความเกิดขึ้นในกายบ้าง
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายังมิง วิหะระติ          ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือความเสื่อมไปในกายบ้าง
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา                      ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือทั้งความเกิดขึ้น
กายัสมิง วิหะระติ                                            ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ                                ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่
สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ                                     เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น
ยาวะเทวะ ญาณะมัตถายะ                              แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้
ปะติสสะติมัตตายะ                                         แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ                                   เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ                            ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆ ในโลกด้วย
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ                                        ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกาย
กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ                              ในกายเนื่อง ๆอยู่อย่างนี้
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ                        ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง                           เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสรีระ(ซากศพ)
สีวถิกายะ ฉัฑฑิตัง                                          ที่เข้าทิ้งไว้แล้วในป่าช้า
อัฏฐิสังขะลิกัง                                                 เป็นร่างกระดูก
สะมังสะโรหิตัง                                               ยังมีเนื้อและเลือด
นะหารูสัมพันธัง                                             อันเส้นเอ็นรัดรึงอยู่
โส อิเมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ                 เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า
อะยัมปิ โข กาโย                                              ถึงร่างกายอันนี้เล่า
เอวังธัมโม                                                        ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา
เอวังภาวี                                                          คงเป็นอย่างนี้
เอวัง อะนะตีโตติ                                             ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ   ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเป็นภายในบ้าง
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ          ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง
อัชฌัตตะพะหิทธา วา                                     ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย
กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ                              ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา                               ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา
กายัสมิง วิหะระติ                                            คือ ความเกิดขึ้นในกายบ้าง
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายังมิง วิหะระติ          ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือความเสื่อมไปในกายบ้าง
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา                      ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือทั้งความเกิดขึ้น
กายัสมิง วิหะระติ                                            ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ                                ก็หรือสติว่ากายมีอยู่
สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ                                     เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น
ยาวะเทวะ ญาณะมัตถายะ                              แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้
ปะติสสะติมัตตายะ                                         แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ                                   เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ                            ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆ ในโลกด้วย
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย                               ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกาย
กายานุปัสสี วิหะระติ                                      ในกายเนื่อง ๆอยู่อย่างนี้
4  ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ                        ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง                           เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสรีระ(ซากศ)
สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง                                        ที่เขาทิ้งไว้แล้วในป่าช้า
อัฏฐิสังขะลิกัง                                                 เป็นร่างกระดูก
นิมมังสะโลหิตัง มักขิตัง                                 เปื้อนด้วยเลือด แต่ปราศจากเนื้อแล้ว
นะหารุสัมพันธัง                                             ยังมีเอ็นรัดรึงอยู่
โส อิเมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ                 เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า
อะยัมปิ โข กาโย                                              ถึงร่างกายอันนี้เล่า
เอวังธัมโม                                                        ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา
เอวังภาวี                                                          คงเป็นอย่างนี้
เอวัง อะนะตีโตติ                                             ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ   ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเป็นภายในบ้าง
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ          ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง
อัชฌัตตะพะหิทธา วา                                     ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย
กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ                              ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา                               ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา
กายัสมิง วิหะระติ                                            คือ ความเกิดขึ้นในกายบ้าง
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายังมิง วิหะระติ          ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือความเสื่อมไปในกายบ้าง
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา                      ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือทั้งความเกิดขึ้น
กายัสมิง วิหะระติ                                            ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ                                    ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไป
ปัจจุปัฏฐิตา โหติ                                             ตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น
ยาวะเทวะ ญาณะมัตถายะ                              แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้
ปะติสสะติมัตตายะ                                         แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ                                   เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ                            ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆ ในโลกด้วย
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย                               ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกาย
กายานุปัสสี วิหะระติ                                      ในกายเนื่อง ๆอยู่อย่างนี้
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ                        ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะริรัง                           เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสรีระ(ซากศพ)
สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง                                        ที่เข้าทิ้งไว้แล้วในป่าช้า
อัฏฐิสังขะลิกัง                                                 เป็นร่างกระดูก
อะปะคะตะมังสะโลหิตัง                                 ปราศจากเนื้อและเลือดแล้ว
นะหารุสัมพันธัง                                             ยังมีเอ็นรัดรึงอยู่
โส อิเมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ                 เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า
อะยัมปิ โข กาโย                                              ถึงร่างกายอันนี้เล่า
เอวังธัมโม                                                        ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา
เอวังภาวี                                                          คงเป็นอย่างนี้
เอวัง อะนะตีโตติ                                             ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ   ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเป็นภายในบ้าง
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ          ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย                             ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย
กายานุปัสสี วิหะระติ                                      ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา  กายัสมิง วิหะระติ            ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ความเกิดขึ้นในกายบ้าง
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายังมิง วิหะระติ          ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือความเสื่อมไปในกายบ้าง
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา                      ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือทั้งความเกิดขึ้น
กายัสมิง วิหะระติ                                            ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ                                    ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไป
ปัจจุปัฏฐิตา โหติ                                             ตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น
ยาวะเทวะ ญาณะมัตถายะ                              แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้ แต่เพียงสักว่า
ปะติสสะติมัตตายะ                                         เป็นที่อาศัยระลึก
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ                                   เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ                            ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆ ในโลกด้วย
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย                               ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกาย
กายานุปัสสี วิหะระติ                                      ในกายเนื่อง ๆอยู่อย่างนี้
6  ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ                        ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง                           เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสรีระ (ซากศพ)
สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง                                        ที่เข้าทิ้งไว้แล้วในป่าช้า
อัฏฐิกานิ                                                          คือเป็น(ท่อน) กระดูก
อะปะคะตะนะหารุสัมพันธานิ                                    ปราศจากเส้นเอ็นเครื่องรึงรัดแล้ว
ทิสาวิทิสา วิกขิตตานิ                                      กระจายไปแล้วในทิศน้อยและทิศใหญ่
อัญเญนะ หัตถัฏฐิกัง                                       กระดูกมือ(ไปอยู่) ทางอื่น
อัญเญนะ ปาทัฏฐิกัง                                        กระดูกเทัา(ไปอยู่) ทางอื่น
อัญเญนะ ชังฆัฏฐิกัง                                        กระดูกแข้ง(ไปอยู่) ทางอื่น
อัญเญนะ อูรัฏฐิกัง                                           กระดุกขา(ไปอยู่) ทางอื่น
อัญเญนะ กฏิฏฐิกัง                                          กระดุกสะเอว(ไปอยู่) ทางอื่น
อัญเญนะ ปิฏฐิกัณฏะกัฏฐิกัง                           กระดูกสันหลัง(ไปอยู่) ทางอื่น                        
อัญเญนะ ผาสุกัฏฐิกัง                                      กระดูซี่โครง(ไปอยู่) ทางอื่น
อัญเญนะ อุรัฏฐิกัง                                           กระดูกหน้าอก(ไปอยู่) ทางอื่น
อัญเญนะ พาหุฏญฐิกัง                                    กระดูกแขน(ไปอยู่) ทางอื่น                             
อัญเญนะ อังสัฏฐิกัง                                        กระดุกไหล่(ไปอยู่) ทางอื่น     
อัญเญนะคีวัฏฐิกัง                                            กระดุกคอ(ไปอยู่) ทางอื่น
อัญเญนะ หะนุฏฐิกัง                                       กระดูกคาง(ไปอยู่) ทางอื่น
อัญเญนะ ทันตักฐิกัง                                        กระดูกฟัน(ไปอยู่) ทางอื่น
อัญเญนะ สีสะกฏาหัง                                      กะโหลกศีรษะ(ไปอยู่) ทางอื่น
โส อิเมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ                 เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า
อะยัมปิ โข กาโย                                              ถึงร่างกายอันนี้เล่า
เอวังธัมโม                                                        ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา
เอวังภาวี                                                          คงเป็นอย่างนี้
เอวัง อะนะตีโตติ                                             ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ   ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเป็นภายในบ้าง
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ          ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย                             ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย
กายานุปัสสี วิหะระติ                                      ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา  กายัสมิง วิหะระติ            ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ความเกิดขึ้นในกายบ้าง
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายังมิง วิหะระติ          ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือความเสื่อมไปในกายบ้าง
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา                      ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือทั้งความเกิดขึ้น
กายัสมิง วิหะระติ                                            ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ                                ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไป
สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ                                     ตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น
ยาวะเทวะ ญาณะมัตถายะ                              แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้
ปะติสสะติมัตตายะ                                         แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ                                   เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ                            ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆ ในโลกด้วย
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย                               ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกาย
กายานุปัสสี วิหะระติ                                      ในกายเนือง ๆอยู่อย่างนี้
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ                        ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง                           เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสรีระ (ซากศพ)
สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง                                        ที่เข้าทิ้งไว้แล้วในป่าช้า
อัฏฐิกานิ                                                          คือเป็น(ท่อน) กระดูก
เสตานิ สังขะวัณณุปะนิกานิ                            มีสีขาวเปรียบด้วยสีสังข์
โส อิเมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ                 เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า
อะยัมปิ โข กาโย                                              ถึงร่างกายอันนี้เล่า
เอวังธัมโม                                                        ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา
เอวังภาวี                                                          คงเป็นอย่างนี้
เอวัง อะนะตีโตติ                                             ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ   ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเป็นภายในบ้าง
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ          ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย                             ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย
กายานุปัสสี วิหะระติ                                      ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา  กายัสมิง วิหะระติ            ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ความเกิดขึ้นในกายบ้าง
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายังมิง วิหะระติ          ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือความเสื่อมไปในกายบ้าง
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา                      ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือทั้งความเกิดขึ้น
กายัสมิง วิหะระติ                                            ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ                                    ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไป
ปัจจุปัฏฐิตา โหติ                                             ตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น
ยาวะเทวะ ญาณะมัตถายะ                              แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้
ปะติสสะติมัตตายะ                                         แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ                                   เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ                            ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆ ในโลกด้วย
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย                               ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกาย
กายานุปัสสี วิหะระติ                                      ในกายเนื่อง ๆอยู่อย่างนี้
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ                        ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง                           เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสรีระ (ซากศพ)
สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง                                        ที่เข้าทิ้งไว้แล้วในป่าช้า
อัฏฐิกานิ                                                          คือเป็น(ท่อน) กระดูก
ปุญชะกิตานิ                                                    เป็นกองเรี่ยรายแล้ว
เตโรวัสสิกานิ                                                   มีในภายนอก ( เกิน) ปีหนึ่งไปแล้ว
โส อิเมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ                 เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า
อะยัมปิ โข กาโย                                              ถึงร่างกายอันนี้เล่า
เอวังธัมโม                                                        ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา
เอวังภาวี                                                          คงเป็นอย่างนี้
เอวัง อะนะตีโตติ                                             ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ   ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเป็นภายในบ้าง
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ          ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย                             ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย
กายานุปัสสี วิหะระติ                                      ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา  กายัสมิง วิหะระติ            ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ความเกิดขึ้นในกายบ้าง
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายังมิง วิหะระติ          ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือความเสื่อมไปในกายบ้าง
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา                      ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือทั้งความเกิดขึ้น
กายัสมิง วิหะระติ                                            ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ                                ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไป
สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ                                     ตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น
ยาวะเทวะ ญาณะมัตถายะ                              แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้
ปะติสสะติมัตตายะ                                         แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ                                   เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ                            ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆ ในโลกด้วย
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย                               ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกาย
กายานุปัสสี วิหะระติ                                      ในกายเนื่อง ๆอยู่อย่างนี้
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ                        ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง                           เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสรีระ (ซากศพ)
สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง                                        ที่เข้าทิ้งไว้แล้วในป่าช้า
อัฏฐิกานิ                                                          คือเป็น(ท่อน) กระดูก
ปูตีนิจุณณะกะชาตานิ                                     ผุละเอียดแล้ว
โส อิเมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ                 เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า
อะยัมปิ โข กาโย                                              ถึงร่างกายอันนี้เล่า
เอวังธัมโม                                                        ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา
เอวังภาวี                                                          คงเป็นอย่างนี้
เอวัง อะนะตีโตติ                                             ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ   ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเป็นภายในบ้าง
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ          ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย                             ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย
กายานุปัสสี วิหะระติ                                      ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา  กายัสมิง วิหะระติ            ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือ ความเกิดขึ้นในกายบ้าง
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายังมิง วิหะระติ          ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือความเสื่อมไปในกายบ้าง
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา                      ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือทั้งความเกิดขึ้น
กายัสมิง วิหะระติ                                            ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ                                    ก็หรือสติว่ากายมีอยู่
ปัจจุปัฏฐิตา โหติ                                             เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น
ยาวะเทวะ ญาณะมัตถายะ                              แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้
ปะติสสะติมัตตายะ                                         แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ                                   เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ                            ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆ ในโลกด้วย
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย                               ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกาย
กายานุปัสสี วิหะระติ                                      ในกายเนื่อง ๆอยู่อย่างนี้
นวสีวถิกาปัพพะ                                             จบข้อกำหนดด้วยป่าช้า กอง
กายานุปัสสนาสะติปัฏฐานัง                           จบกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน

ไม่มีความคิดเห็น: