วันเสาร์ที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2556

ธัมมจักกัปปวัตนสูตร 24-3-56


ธัมมจักกัปปวัตนสูตร
เริมธัมมจักกัปปวัตนสูตร                                 พระตถาคตเจ้า ได้ตรัสรู้ซึ่ง
อนุตตะรัง อะภิสัมโพธิง                                   พระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว
สัมพุชฌิตฺวา ตะถาคะโต                                  เมื่อจะทรงประกาศธรรมที่ใครๆ
ธัมมะจักกัง อะนุตตะรัง                                   ยังมิได้ให้เป็นไปแล้วในโลก ให้เป็นไป
สัมมะเทวะ ปะวัตเตนโต                                  โดยชอบแท้ ได้ทรงแสดง
โลเก อัปปฏิวัตติยัง                                          พระอนุตรธัมมจักรใดก่อน
ยัตถากขาตา อุโภ อันตา                                   คือพระธัมมจักรใด พระองค์ตรัส
ปะฏิปัตติ จะ มัชฌิมา                                      ซึ่งที่สุด ประการ และข้อปฏิบัติ
จะตูสะวาริยะสุจเจสุ                                        เป็นกลาง และปัญญาอันรู้เห็น
วิสุทธัง ญาณะทัสสะนัง                                   อันหมดจดแล้วในอริยสัจทั้ง
เทสิตัง ธัมมะราเชนะ                                       เราทั้งหลายจงสวดธรรมจักรนั้น
สัมมาสัมโพธิกิตตะนัง                                     ที่พระองค์ผู้พระธรรมราชาทรงแสดงแล้ว
นาเมนะ วิสสุตัง สุตตัง                                    ปรากฏโดยชื่อว่าธัมมจักกัปปวัตนสูตร
ธัมมะจักกัปปะวัตตะนัง                                   เป็นสูตรประกาศพระสัมมาสัมโพธิญาณ
เวยยากะระณะปาเฐนะ                                     อันพระสังคีติกาจารย์ร้อยกรองไว้
สังคีตันตัมภะณามะ เสฯ                                  โดยเวยยากรณะปาฐะเทอญ
ธัมมจักกัปปวัตนสูตร
เอวัมเม สุตัง                                                     อันข้าพเจ้า( คือพระอานนทเถระ) ได้สดับมาแล้วอย่างนี้
เอกัง สะมะยัง ภะคะวา                                    สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้า
พาราณะสิยัง วิหะระติ                                     เสด็จประทับอยู่ที่ป่าอิสิปตะมฤคทายวัน
อิสิปะตะเน มิคะทาเย                                       ไกล้เมืองพาราณสี
ตัตระ โข ภะคะวา ปัญจะวัคคิเย ภิกขู              ในกาลนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเตือน
อามันเตสิ                                                         พระภิกษุปัญจะวัคคีย์ว่า
เทวเม ภิกขะเว อันตา ปัพพะชิเตนะ                ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ที่สุดสองอย่างนี้อันบรรพชิต
นะ เสวิตัพพา                                                  ไม่ควรเสพ
โย จายัง กาเมสุ กามะสุขัลลิกานุโยโค               คือการประกอบตนให้พัวพันด้วยกามในกามทั้งหลายนี้ใด
หีโน                                                                 เป็นธรรมอันเลว
คัมโม                                                               เป็นเหตุตั้งบ้านเรือน
โปถุชชะนิโก                                                    เป็นของคนมีกิเลสหนา
อะนะริโย                                                         ไมใช่ไปจากข้าศึกคือกิเลส
อนัตถะสัญหิโต                                                ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ อย่างหนึ่ง
โย จายัง อัตตะกิละมะถานุโยโค                       คือการประกอลความเหน็ดเหนื่อยด้วยตนเหล่านี้ใด
ทุกโข                                                               ให้เกิดทุกข์แก่ผู้ประกอบ
อะนะริโย                                                         ไม่ใช่ไปจากข้าศึกคือกิเลส
อนัตถะสัญหิโต                                                ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ อย่างหนึ่ง
เอเต เต ภิกขะเว อุโภ อันเต อนุปะคัมมะ          ดูก่อนภิกษุทั้งหลายข้อปฏิบัติอันเป็นกลาง ไม่เข้าไป
มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตน                     ไกล้ที่สุดสองอย่างนั่นนั้น
อภิสัมพุทธา                                                     อันตถาคตได้ตรัสรู้แล้ว
จักขุกะระณี ญาณะกะระณี                               ด้วยปัญญาอันยิ่ง ทำดวงตา ทำญาณเครื่องรู้
อุปะสะมายะ อภิญญายะ                                  ย่อมเป็นไปเพื่อความเข้าไปสงบระงับ เพื่อความรู้ยิ่ง
สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ                 เพื่อความรู้ดี เพื่อความดับ
กะตะมา จะ สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ข้อปฏิบัติซึ่งเป็นกลางนั้นเป็น
ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา                            ไฉน ที่ตถาคตได้ตรัสรู้แล้ว ด้วยป้ญญาอันยิ่ง
จักขุกะระณี ญาณะกะระณี                               ทำดวงตา ทำญาณเครื่องรู้
อุปะสะมายะ อภิญญายะ สัมโพธายะ               ย่อมเป็นไปเพื่อความเข้าไปสงบระงับ
นิพพานายะ                                                     เพื่อความรู้ยิ่ง
สังวัตตะติ                                                        เพื่อความรู้ดี เพื่อความดับ
อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค                  ทางมีองค์ เครื่องไปจากข้าศึกคือกิเลสนี่เอง
เสยยะถีทัง                                                       กล่าวคือ
สัมมาทิฏฐิ                                                    ปัญญาเห็นชอบ
สัมมาสังกัปโป                                             ความดำริชอบ
สัมมาวาจา                                                   วาจาชอบ
สัมมากัมมันโต                                             การงานชอบ
สัมมาอาชีโว                                                 ความเลี้ยงชีพชอบ
สัมมาวายาโม                                                ความเพียรชอบ
สัมมาสติ                                                      ความระลึกชอบ
สัมมาสมาธิ                                                  ความตั้งจิตชอบ
อะยัง โข สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา         ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันนี้แล ข้อปฏิบัติซึ่งเป็นกลางนั้น
ตะถาคะเตนะ อภิสัมพุทธา                              ที่ตะถาคตได้ตรัสรู้แล้ว ด้วยปัญญาอันยิ่ง
จักขุกะระณี ญาณะกะระณี                               ทำดวงตา ทำญาณเครื่องรู้ ย่อมเป็นไปเพื่อความเข้า
อุปะสะมายะ อภิญญายะ สัมโพธายะ               ไปสงบระงับ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้ดี
นิพพานายะ สังวัตตะติ                                    เพื่อความดับ               
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขัง อะริยะสัจจัง     ดูก่อภิกษุทั้งหลาย ก็นี้แล เป็นทุกข์อย่างแท้จริง คือ
ชาติปิ ทุกขา                                                    ความเกิดก็เป็นทุกข์
ชราปิ ทุกขา                                                     ความแก่ก็เป็นทุกข์
มะระณัมปิ ทุกขัง                                             ความตายก็เป็นทุกข์
โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ        ความโศก ความร่ำไรรำพัน
ทุกขา                                                               ความทุกข์โทมนัส และความคับแค้นใจ ก็เป็นทุกข์
อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข                              ความประสบด้วยสิ่งที่ไม่เป็นที่รักทั้งหลายเป็นทุกข์
ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข                                   ความพลัดพรากจากสิ่งที่รักทั้งหลาย เป็นทุกข์
ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง                     ปรารถนาอยู่ย่อมไม่ได้ แม้อันใด แม้อันนั้นก็เป็นทุกข์
สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา            โดยย่อแล้ว อุปาทานขันธ์ เป็นทุกข์
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะสะมุทะโย          ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็นี้แล เป็นเหตุให้ทุกข์เกิดขึ้น
 อะริยะสัจจัง                                                    อย่างจริงแท้ คือ
ยายัง ตัณหา โปโนพภะวิกา                             ความทะยานอยากนี้ ทำให้มีภพอีก
นันทิราคะสะหะคะตา                                      เป็นไปกับความกำหนัดด้วยอำนาจแห่งความเพลิน
 ตัตระตัตราภินันทินี                                        เพลิดเพลินในอารมณ์นั้นๆ
เสยยะถีทัง                                                       กล่าวคือ
กามะตัณหา                                                     คือความทะยานอยากในอารมณ์ที่ใคร่
ภะวะตัณหา                                                     คือความทะยานอยากในความมีความเป็น
วิภะวะตัณหา                                                   คือความทะยานอยากในความไม่มีไม่เป็น
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรโธ                ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็นี่แล เป็นความดับทุกข์
อะริยะสัจจัง                                                     อย่างจริงแท้ คือ
โย ตัสสาเยวะ ตัณหายะ                                   ความดับโดยสิ้นกำหนัด โดยไม่เหลือแห่งตัณหานั้น
อะเสสะวิราคถนิโรโธ                                       นั่นเทียว อันใด
จาโค                                                                ความสละตัณหานั้น
ปะฏินิสสัคโค                                                  ความวางตัณหานั้น
มุตติ                                                                 ความปล่อยตัณหานั้น
อะนาละโย                                                       ความไม่พัวพันแห่งตัณหานั้น
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรธะคามินี      ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็นี่แล เป็นข้อปฏิบัติให้ถึงความ
ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง                                   ดับทุกข์อย่างจริงแท้ คือ
อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค                  ทางมีองค์ เครื่องไปจากข้าศึกคือกิเลสนี้แล
เสยยะถีทัง                                                       กล่าวคือ
สัมมาทิฏฐิ                                                    ปัญญาเห็นชอบ
สัมมาสังกัปโป                                             ความดำริชอบ
สัมมาวาจา                                                   วาจาชอบ
สัมมากัมมันโต                                             การงานชอบ
สัมมาอาชีโว                                                 ความเลี้ยงชีวิตชอบ
สัมมาวายาโม                                                ความเพียรชอบ
สัมมาสะติ                                                    ความระลึกชอบ
สัมมาสมาธิ                                                  ความตั้งจิตชอบ

ไม่มีความคิดเห็น: