วันพุธที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

มหาสติปัฏฐานสูตร 1 ทุกขอริยสัจจ


1 ทุกขอริยสัจจ                                                          
กะตะมัญจะ ภิกขะเว ทุกขํง อะริยะสัจจัง         ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ของจริงแห่งพระอริยเจ้าคือทุกข์
 เป็นอย่างไร
ชาติปิ ทุกขา                                                            แม้ชาติ ( ความเกิด) ก็เป็นทุกข์
ชะราปิ ทุกขา                                               แม้ชรา ( ความแก่ ) ก็เป็นทุกข์
มะระณัมปิ ทุกขัง                                         แม้มรณะ (ความตาย ) ก็เป็นทุกข์
โสกะปะริเทวะทุกขะ                                    แม้โสกะ ( ความโศก) ปริเทวะ( ความร่ำไรรำพัน) ทุกข์
โทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา                              (ความไม่สบายกาย) โทมนัส ( ความไม่เสียใจ) และ
                                                                        อุปายาส ( ความคับแค้นใจ) ก็เป็นทุกข์
อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข                          ความประสบสัตว์และสังขาร ซึ่งไม่เป็นทีรักก็เป็นทุกข์
ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข                               ความพลัดพรากจากสัตว์และสังขารซึ่งเป็นที่รักก็เป็นทุกข์
ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง                 สัตว์ปรารถนาสิ่งใดย่อมไม่ได้
แม้ข้อไม่สมประสงค์นั้น ก็เป็นทุกข์
สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา        โดยย่อ อุปาทานขันธ์
( ขันธ์ประกอบด้วยอุปาทาน ความถือมั่น)เป็นทุกข์
ชาติ
กะตะมา จะ ภิกขะเว ชาติ                                 ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ชาติ (ความเกิด) เป็นอย่างไร?
ยา เตสัง เตสัง สัตตานัง ตัมหิ                          ความเกิด เกิดพร้อม( คือมีอายตนะบริบูรณ์) ความหยั่งลง
ตัมหิ สัตตะนิกาเย ชาติ สัญชาติ                       (คือ เป็นชลาพุชะ หรืออัณพชปฏิสนธิ) เกิด
โอกกันติ นิพพัตติ อะภินิพพัตติ                      ( คือเป็นสังเสทะชะปฏิสนธิ) เกิดจำเพาะ
( คือเป็นอุปปาติกะ
ขันธานัง ปาตุภาโว อายะตะนานัง ปฏิลาโภ     ปฏิสนธิ) ความปรากฏขึ้นแห่งขันธ์  ความได้อายตนะครบ
                                                                        ในหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ อันใด
อะยัง วุจจะติ ชาติ                                            ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันนี้ที่กล่าวว่า ชาติ (ความเกิด)
กะตะมา จะ ภิกขะเว ชรา                                 ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ชรา( ความแก่) เป็นอย่างไร?
ยา  เตสัง เตสัง สัตตานัง ตัมหิ                         ความแก่ ความคร่ำคร่า ความที่ฟันหลุด ความที่ผมหงอก
ตัมหิ สัตตะนิกาเย ชะรา ชีระณะตา                  ความที่หนังเหียว เป็นเกลียว  ความเสื่อมแห่งอายุ
ขัณฑิจจัง ปาลิจจัง วะลิตะจะตา                      ความแก่หง่อมแห่งอินทรีย์ในหมู่สัตว์นั้นๆ
อายุโน สังหานิ อินทะริยานิ ปะริปาโก             ของสัตว์นั้นๆ อันใด
อะยัง วุจจะติ ภิกชะเว ชะรา                             ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันนี้ที่กล่าวว่า ชรา( ความแก่)
3 มรณะ
กะตะมัญจะ ภิกขะเว มะระณัง             ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มรณะ ( ความตาย) เป็นอย่างไร?
ยา เตสัง เตสัง สัตตานัง ตัมหา                         ความจุติ ความเคลื่อนไป ความแตกทำลาย ความหายไป
ตัมหา สัตตะนิกาเย จุติ จะวะนะตา                  มฤตยู ความตาย ความทำกาละ
เภโท อัตะระธานัง มัจจะมะระณัง                    ความแตกแห่งขันธ์
กาละกิริยา ขันธานัง เภโท กะเซวะรัสสะ          ความทิ้งซากศพไว้ ความขาดไปแห่งชีวิตตินทรีย์
นิกเขโป ขีวิตินทะริยัสสะ อุปัจเฉโท                จากหมู่สัตว์นั้น ของเหล่าสัตว์นั้น   อันใด
อิทัง วุจจะติ ภิกขะเว มะระณัง             ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันนี้ที่กล่าวว่า มรณะ (ความตาย)
4 โสกะ
กะตะโม จะ ภิกขะเว  โสโก                               ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย โสกะ ( ความแห้งใจ) เป็นอย่างไรเล่า?โย โข ภิกขะเว อัญญะตะรัญญะตะเรนะ          ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความโศก ความเศร้าใจ
พะยะสะเนนะ สะมันนาคะตัสสะ                     ความแห้งใจความผาก ภายใน
อัญญะตะรัญญะตะเรนะ ทุกขะธัมเมนะ           ความโศก ภายใน ของสัตว์ ผู้ประกอบ
ผุฏฐัสสะ โสโก โสจะนา                                   ด้วยความฉิบหายอันใดอันหนึ่ง
โสจิตัตตัง อันดน โสโก อันโต ปะริโสโก           และผู้ที่ความทุกข์อันใดอันหนี่งมาถูกต้องแล้ว อันใดเล่า
อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว โสโก                             ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันนี้ที่กล่าวว่า โสกะ ( ความแห้งใจ)
5 ปริเทโว
กะตะโม จะ ภิกขะเว  ปะริเทโว                        ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ปริเทวะ
(ความร่ำไรรำพัน) เป้นอย่างไรเล่า?
โย โข ภิกขะเว อัญญะตะรัญญะตะเรนะ           ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความคร่ำครวญ
พะยะสะเนนะ สะมันนาคะตัสสะ                     ความไร่ไรรำพัน กิริยาที่คร่ำครวญ
อัญญะตะรัญญะตะเรนะ ทุกขะธัมเมนะ           ความที่สัตว์ร่ำไรรำพัน ของสัตว์ผู้ประกอบ
ผุฏฐัสสะ อาเทโว ปะริเทโว                              ด้วยความฉิบหาย อันใดอันหนึ่ง
อาเทวะนา ปะริเทวะนา                                   และผู้ที่ความทุกข์อันใด
อาเทวิตัตตัง ปะริเทวิตัตตัง                             อันหนึ่ง มาถุกต้องแล้ว อันใดเล่า
อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว ปะริเทโว                       ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันนี้ที่กล่าวว่า ปริเทวะ
( ความร่ำไรรำพัน)
6 ทุกข์
กะตะมัญจะ ภิกขะเว ทุกขัง                             ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทุกข์
( ความไม่สบายกาย ) เป็นอย่างไรเล่า?
ยัง โข ภิกขะเว กายิกัง ทุกขัง                           ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความทุกข์เกิดในกาย
กายิกัง อะสาตัง กายะสัมผัสสะชัง                   ความไม่ดีเกิดในกาย
ทุกขัง อะสาตัง เวทะยิตัง                                 เวทนาไม่ดีเป็นทุกข์ เกิดแค่สัมผัสทางกาย อันใดเล่า?
อิทัง วุจจะจิ ภิกขะเว ทุกขัง                             ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย โทมนัส (ความเสียใจ) เป็นอย่างไร?
7 โทมนัส
กะตะมัญจะ ภิกขะเว โทมะนัสสัง                    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย โทมนัส ( ความเสียใจ) เป็นอย่างไร?
ยัง โข ภิกขะเว เจตะสิกัง ทุกขัง                       ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความทุกข์เกิดในใจ
เจตะสิกัง อะสาตัง เจโตสัมผัสสะชัง                ความไม่ดีเกิดในใจ
ทุกขัง อะสาตัง เวทะยิตัง                                 เวทนาไม่ดีเป็นทุกข์ เกิดแต่สัมผัสทางใจ อันใด?
อิทัง วุจจะติ ถิกขะเว โทมะนัสสัง                    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันนี้ที่กล่าวว่า โทมนัส( ความเสียใจ)
8 อุปายาโส
กะตะโม จะ ภิกขะเว อุปายาโส                         ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อุปายาส( ความคับแค้น)
เป็นอย่างไร?   
โย โข ภิกขะเว อัญญะตะรัญญะตะเรนะ           ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความแค้น
พะยาสะเนนะ สะมันนาคตัสสะ                       ความคับแค้น ความที่สัตว์แค้น
อัญญะตะรัญญตะเรน ทุกขธัมเมนะ                 ความที่สัตว์คับแค้น 
ผุสฐัสสะ อายาโส อุปายาโส                             ของสัตว์ผู้ประกอบด้วยความฉิบหาย
อายาสิตัตตัง อุปายาสิตัตตัง                            อันใด อันหนึ่ง มาถูกต้องแล้ว อันใด?
อะยัง วุจจะติ อุปายาโส                                    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันนี้ที่กล่าวว่า
อุปายาส(ความคับแค้น)
9 อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข                          
กะตะโม จะ ภิกขะเว                                         ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความประสบสัตว์และสังขาร
อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข                              ซึ่งไม่เป็นที่รักเป็นทุกข์อย่างไรเล่า?
อิธะ ภิกขะเว ยัสสะ เต โหนติ                           ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อารมณ์เหล่าใดในโลกนี้ ซึ่งไม่เป็นที่
อะนิฏฐา อะกันตา อะมะนาปา รูปา                  ปรารถนา ไม่เป็นที่รักใคร่ ไม่เป็นที่ปลิ้มใจ
คือ รูป เสียง กลิ่น
สัททา คันธา ระสา โผฏฐัพพา                         รส และอารมณ์ที่จะพึงถูกต้องด้วยกาย ย่อมมีแก่ผู้นั้น
เย วา ปะนัสสะ เต โหนติ                                 อนึ่ง หรือชนเหล่าใด ที่ใคร่ต่อความฉิบหาย ใคร่สิ่งที่
อะนัตถะกามา อะหิตะกามา                             ไม่เกื้อกูลใคร่ความไม่สำราญ
อะผาสุกามา อะโยคักเขมะกามา                       และใคร่ความไม่เกษม จากเครื่องประกอบแก่ผู้นั้น
ยา เตหิ  สังคะติ สะมาคะโม                             ความไปร่วม ความมาร่วม ความประชุมร่วม ความระคน
สะโมธานัง มิสสีภาโว                                      กับด้วยอารมณ์และสัตว์เหล่านั้น อันใด
อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว อัปปิเยหิ                       ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันนี้ที่กล่าวว่า ความประสบกับสัตว์
สัมปะโยโค ทุกโข                                             และสังขารซึ่งไม่เป็นที่รัก เป็นทุกข์
10  กะตะโม จะ ภิกขะเว ปิเยหิ                         ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความพลัดพรากจากสัตว์และสังขาร
วิปปะโยโค ทุกโข                                             ซึ่งเป็นที่รัก เป็นทุกข์อย่างไร ?
อิธะ ภิกขะเว ยัสสะ เต โหนติ                           ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อารมณ์เหล่าใดในโลกนี้ ซึ่งเป็นที่
อิฏฐา กันตา มะนาปา รูปา                               ปรารถนา เป็นที่รักใคร่ เป็นที่ปลิ้มใจ คือ รูป เสียง กลีน รส
สัททา คันธา ระสา โผฏฐัพพา                         และอารมณ์ที่จะพึงถูกต้องด้วยกาย ย่อมมีแก่ผู้นั้น
เย วา ปะนัสสะ เต โหนติ                                 อนึ่ง หรือชนเหล่าใด ทึ่ใคร่ต่อความเจริญ ใคร่ประโยชน์
อัตถะกามา หิตะกามา ผาสุกามา                      เกื้อกูล ใคร่ความสำราญ และใคร่ความเกษม
 โยคักเขมะกามา                                              จากเครื่องประกอบแก่ผู้นั้น
มาตา วา ปิตา วา                                              คือ มารดา หรือ บิดา
ภาตา วา ภะคินี วา                                           พี่ชาย น้องชาย หรือพี่หญิง น้องหญิง
มิตตา วา อะมัจจา วา                                       มิตร หรืออำมาตย์
ญาติสาโลหิตา วา                                             หรือญาติสาโลหิต
ยา เตหิ อะสังคะติ อะสะมาคะโม                      ความไม่ไปร่วม ความไม่มาร่วม ความไม่ประชุมร่วม
อะสะโมทานัง อะมิสสีภาโว                             ความไม่ระคน กับด้วยอารมณ์และสัตว์เหล่านั้นอันใด
อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว                                      ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันนี้ที่กล่าวว่า ความพลัด
ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข                                   พรากจากสัตว์และสังขาร ซึ่งเป็นที่รัก เป็นทุกข์
11 กะตะมัญจะ ภิกขะเว ยัมปิจฉัง                    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตว์ปรารถนาสิงใดย่อมไม่ได้ แม้ของ
นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง                                    ที่ไม่สมประสงค์นั้น เป็นทุกข์ อย่างไรเล่า?
ชาติธัมมานัง ภิกขะเว สัตตานัง                       ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความปรารถนา
ย่อมเกิดขึ้นแก่เหล่าสัตว์
เอวัง อิจฉา อุปปัชชะติ                                     ที่มีความเกิดเป็นธรรมดาอย่างนี้ว่า
อะโห วะตะ มะยัง นะ ชะราธัมมา อัสสามะ      เออหนา ขอเราพึงเป็นผู้ไม่มีความเกิดเป็นธรรมดาเถิด
นะ จะ วะตะ โน อาคัจเฉยยาติ                         อนึ่ง ขอความเกิดอย่ามีมาถึงแก่เราเลยหนา ดังนี้
นะ โข ปะเนตัง อิจฉายะ ปัตตัพพัง                  ข้อนั้น สัตว์ไม่พึงได้ตามความปรารถนาโดยแท้
อิทัมปิ ยัมปิจฉัง  นะ ละภะติ ต้มปิ ทุกขัง        แม้ข้อนี้ก็ชื่อว่า ยัมปิจฉังนลภติตัมปิทุกข์
(สัตว์ปรารถนาสิงใดย่อมไม่ได้ แม้ข้อที่ไม่ประสงค์
นั้นก็เป็นทุกข์)
ชะราธัมมานัง ภิกขะเว สัตตานัง                      ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความปรารถนาย่อมเกิดขึ้น แก่
เอวัง อิจฉา อุปปัชชะติ                                     เหล่าสัตว์ที่มีความแก่ เป็นธรรมดาอย่างน้ว่า
อะโห วะตะ มะยัว นะ ชะราธัมมา อัสสามะ     เออหนา ขอเราพึงเป็นผู้ไม่มีความแก่เป็นธรรมดาเภิด
นะ จะ วะตะ โน ชะรา  อาคัจเฉยยาติ               อนึ่ง ขอความแก่อย่ามีมาถึงแก่เราเลยหนา ดังนี้
นะ โข ปะเนตัง อัจฉายะ ปัตตัพพัง                  ข้อนั้น สัตว์ไม่พึงได้ตามความปรารถนาโดยแท้
อิทัมปิ ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง         แม้ข้อนี้ก็ชื่อว่า ยัมปิจฉังนลภติตัมปิทุกข์
พะยาธิธัมมานัง ภิกขะเว                                  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความปรารถนาย่อมเกิดขึ้น แก่
สัตตานัง  เอวัง อิจฉา อุปปัชชะติ                     เหล่าสัตว์ที่มีความเจ็บๆ ไข้ๆ เป็นธรรมดาอย่างนี้ว่า
อะโห วะตะ มะยัง นะ                                      เออหนา ขอเราพึงเป็นผู้ไม่มีความเจ็บไข้
พะยาธิธัมมา อัสสามะ                                     เป็นธรรมดาเถิด
นะ จะ วะตะ โน พะยาธิ อาคัจเฉยยุนติ            อนึ่ง ขอความเจ็บไข้อย่ามีมาถึงแก่เราเลยหนา
นะ โข ปะเนตัง อิจฉายะ ปัตตัพพัง                  ข้อนั้น สัตว์ไม่พึงได้ตามความปรารถนาโดยแท้
อิทัมปิ ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง         แม้ข้อนี้ก็ชื่อว่า ยัมปิจฉังนลภติตัมปิทุกข์
มะระณะธัมมานัง ภิกขะเว                               ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความปรารถนาย่อมเกิดขึ้น
สัตตานัง เอวัง อิจฉา อุปปัชชะติ                      แก่เหล่าสัตว์ที่มีความตายเป็นธรรมดาอย่างนี้ว่า
อะโห วะตะ มะยัง                                            เออหนา ขอเราพึงเป็นผู้
นะ มะระณะธัมมา อัสสามะ                             ไม่มีความตายเป็นธรรมดาเถิด
นะ จะ วะตะ โน มะระณัง อาคัจเฉยยาติ          อนึ่ง ขอความตายอย่ามีมาถึงแก่เราเลยหนา ดังนี้
 นะ โข ปะเนตัง อิจฉายะ ปัตตัพพัง                 ข้อนั้น สัตว์ไม่พึงได้ตามความปรารถนาโดยแท้
อิทัมปิ ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง         แม้ข้อนี้ก็ชื่อว่า ยัมปิจฉังนลภติตัมปิทุกข์
โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสะ-         ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความปรารถนา
ธัมมานัง                                                          ย่อมเกิดขึ้น แก่เหล่าสัตว์ที่มีโสกะ
ภิกขะเว  สัตตานัง  เอวัง  ภิกขะเว                    ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส
สัตตานังเอวัง อิจฉา อุปปัชชะติ                       เป็นธรรมดาอย่างนี้ว่า
อะโห วะตะ มะยัง นะ                                      เออหนา ขอเราพึงเป็นผู้ไม่มีโสกะ
โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัส-                        ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัสอุปายาส
สุปายาสาธัมมา อัสสามะ                                 เป็นธรรมดาเถิด
นะ จะ วะตะ โน โสปะปะริเทวะทุกขะ             อนึ่ง ขอ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส
โทมะนัสสุปายาสา       อาคัจเฉยยุนติ              อย่าพึง มาถึงแก่เราเลยหนา ดังนี้
นะ โข ปะเนตัง อิจฉายะ ปัตตัพพัง                  ข้อนั้น สัตว์ไม่พึงได้ตามความปรารถนาโดยแท้
อิทัมปิ ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง         แม้ข้อนี้ก็ชื่อว่า ยัมปิจฉังนลภติตัมปิทุกข์ ( สัตว์ปรารถนา
สิ่งใดย่อมไม่ได้ แม้ข้อที่ไม่สมประสงค์นั้นก็เป็นทุกข์
กะตะเม จะ ภิกขะเว สังขิตเตนะ                      ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
ปัญจุปาทานักขันา ทุกขา                                 โดยย่ออุปาทานขันธ์ทั้ง เป็นทุกข์อย่างไร
เสยยะถีทัง                                                       นี้คือ
รูปูปาทานักขันโธ                                            อุปาทานขันธ์คือรูป
เวทะนูปาทานักขันโธ                                      อุปาทานขันธ์คือเวทนา
สัญญูปาทานักขันโธ                                        อุปาทานขันธ์คือสัญญา
สังขารูปาทานักขันโธ                                      อุปาทานขันธ์คือสังขาร
วิญญาณูปาทานักขันโธ                                   อุปาทานขันธ์คือวิญญาณ
อิเม วุจจันติ ภิกขะเว                                        ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย โดยย่อเหล่านี้
สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา            ที่กล่าวว่า อุปาทานขันธ์   เป็นทุกข์
อิทัง วุจจะติ ภิกขะเว ทุกขัง อะริยะสัจจัง        ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันนี้ที่กล่าวว่า อริยสัจ คือ ทุกข์

ไม่มีความคิดเห็น: