วันพุธที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

ทำวัตรค่ำ


ทำวัตรค่ำ
เมื่อเข้าประชุมพร้อมกันแล้ว เวลาหัวหน้าทำสักการะ พึงคุกเข่าประณมมือ ครั้นเสร็จแล้ว ผู้เป็นหัวหน้าพึงกล่าวคำอภิวาทว่านำดังต่อไปนี้
อะระหัง สัมมาสัทพุทโธ ภะคะวา,                   พระผู้มีพระภาคเจ้าทางเป็นพระอรหันต์
 ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิฯ                      ข้าพเจ้าอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน
(กราบ)
สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,                          พระธรรมเป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัส
ธัมมัง นะมัสสามิฯ                                           ไว้ดีแล้ว  ข้าพเจ้านมัสการพระธรรม
(กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,          พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าปฏิบัติดีแล้ว
สังฆัง นะมามิฯ                                               ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์
(กราบ)
ปุพพภาคนมการะ
(หัวหน้านำ)
หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต                  เราทั้งหลายสวดนมัสการพระผู้มีพระภาคผู้เป็น
ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เสฯ               พระพุทธเจ้ากันเถิด
(รับพร้อมกัน)
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต                                   ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น
อะระหะโต,                                                      ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส
สัมมาสัมพุทธัสสะ.                                          ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
 ( ๓ ครั้ง)
๑ พุทธานุสสติ
(หัวหน้านำ)
หันทะ มะยัง พุทธานุสสะตินะยัง                   เราทั้งหลายสวดพรรณนาระลึกถึง
กะโรมะ เสฯ                                                     คุณพระพุทธเจ้ากันเถิด
 (รับพร้อมกัน)
ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวัง                       ก็กิตติศัพท์อันงามของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น
กัลป์ยาโณกิตติสัทโท อัพภุคคะโต,                   ได้ฟุ้งไปแล้วอย่างนี้ว่า                        
อิติปิ โส ภะคะวา,                                             เพราะเหตุอย่างนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น
อะระหัง,                                                          เป็นผู้ไกลจากกิเลส
สัมมาสัมพุทโธ,                                               เป็นผู้ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
วิชชาจะระณะสัมปันโน,                                  เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจะระณะ
สุคะโต,                                                            เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี
โลกะวิทู,                                                          เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ,                       เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้ อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า
สัตถา เทวะมะนุสสานัง,                                  เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
พุทโธ,                                                              เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้วยธรรม
ภะคะวา ติ.                                                       เป็นผู้มีความจำเริญจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์ดังนี้
  พุทธาภิคีติ
(หัวหน้านำ)
หันทะ มะยัง พุทธาภิคีติง กะโรมะ เสฯ           เราจงทำการขับสรรเสริญพระพุทธเจ้ากันเถิด
(รับพร้อมกัน)
พุทธวาระหันตะวะระตาทิคุณาภิยุตโต,           พระพุทธเจ้าประกอบด้วยคุณมีความประเสริฐแห่ง
อรหันตคุณเป็นต้น
สุทธาภิ ญาณะกะรุณาหิ สะมาคะตัตโต,           มีพระองค์อันประกอบด้วยพระญาณ
และพระกรุณาอันบริสุทธิ์
โพเธสิ โย สุชะนะตัง กะมะรังวะ สูโร,              พระองค์ใดทรงทำชนทีดีให้เบิกบานดุจอาทิตย์
ทำบัวให้บาน
วันทามะหัง ตะมะระณัง สิระสา ชิเนนทัง,       ข้าพเจ้าไหว้พระชินสีห์ผู้ไม่มีกิเลสพระองค์นั้น
ด้วยเศียรเกล้า
ปะฐะมานุสสติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง,  ข้าพเจ้าไหว้พระพุทธเจ้าพระองค์นั้นอันเป็นที่
พุทธัสสาหัสมิ ทาโส(ทาสี) วะ พุทโธ เม          ตั้งแห่งความระลึกถึงองค์ที่หนึ่งด้วยเศียรเกล้า
สามิกิสสะโร,                                                    ข้าพเจ้าเป็นทาสของพระพุทธเจ้า
พระพุทธเจ้ามีอิสระเหนือข้าพเจ้า
พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ                                พระพุทธเจ้าเป็นเครื่องกำจัดทุกข์และทรง
วิธาตา จะ หิตัสสะ เม,                                     ไว้ซึ่งประโยชน์แก่ข้าพเจ้า
พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง,     ข้าพเจ้ามอบกายถวายชีวิตนี้แด่พระพุทธเจ้า
วันทันโตหัง ( ตีหัง) จะริสสามิ                         ข้าพเจ้าไหว้อยู่จักประพฤติตาม
พุทธัสเสวะ สุโพธิตัง,                                      ซึ่งความตรัสรู้ดีของพระพุทธเจ้า
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง                                 สรณะอื่นของข้าพเจ้าไม่มี พระพุทธเจ้าเป็น
พุทโธ เม สะระณัง วะรัง,                                 สรณะอันประเสริฐของข้าพเจ้า
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัพเฒยยัง                     ด้วยการกล่าวคำสัจจ์นี้ ข้าพเจ้าพึงเจริญในพระ
สัตถุสาสะเน,                                                   ศาสนาของพระศาสดา
พุทธัง เม วันทะมาเนนะ(มานายะ)                   ข้าพเจ้าไหว้อยู่ซึ่งพระพุทธเจ้า
ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ,                                  ได้ขวนขวายบุญใดในบัดนี้
สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง                        อันตรายทั้งปวง อย่าได้มีแก่ข้าพเจ้า
ตัสสะ เตชะสา.                                                            ด้วยเดชแห่งบุญนั้น
(หมอบลงกล่าวว่า)
กาเยนะ วาจา วะ เจตะสา วา,                           ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี
พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง,                    กรรมอันน่าติเตียนอันใด ที่ข้าพเจ้ากระทำแล้ว
ในพระพุทธเจ้า
พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง,                  ขอพระพุทธเจ้า จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น
กะลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ.                       เพื่อการสำรวมระยัง ในพระพุทธเจ้าในกาลต่อไป
. ธัมมานุสสติ
(ห้วหน้านำ)
หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เสฯเราทั้งหลายจงขับสรรเสริญพระธรรมกันเถิด
(รับพร้อมกัน)
สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,                          พระธรรม เป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ดีแล้ว
สันทิฏฐิโก,                                                      เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติพึงเห็นได้ด้วยตนเอง
อะกาลิโก,                                                         เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้และให้ผลได้ไม่จำกัดกาล
เอหิปัสสิโก,                                                      เป็นสิ่งที่ควรกล่าวกะผู้อื่นว่าท่านจงมาดูเถิด
โอปะนะยิโก,                                                    เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว
ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ,                        เป็นสิ่งที่ผู้รู้ก็รู้ได้เฉพาะตน ดังนี้
๓. ธัมมาภิคีติ
(หัวหน้านำ)
หันทะ มะยัง ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เสฯ            เราทั้งหลายจงทำการขับสรรเสริญพระธรรมกันเถิด
(รับพร้อมกัน)
สฺวากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสนะ เสยโย,        พระธรรมเป็นสิ่งที่ประเสริฐเพราะประกอบด้วย
โย มัคคะปากะปะริยัติติวิโมกขะเภโท,             คุณ คือความที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว เป็นต้น
ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี,               เป็นธรรมอันจำแนกเป็นมรรค ผล ปริยัติและนิพพาน
เป็นธรรมทรงไว้ซึ่งผู้ทรงธรรมจากการตกไปสู่โลกที่ชั่ว
วันทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง,       ข้าพเจ้าไหว้พระธรรมอันประเสริฐ อันเป็น
ธัมโม โย สัพพะปาณินัง                                   เครื่องขจัดเสียซึ่งความมืด
สะระณัง เขมะมุตตะมัง,                                  พระธรรมใด เป็นสรณะอันเกษมสูงสุดของสัตว์ทั้งหลาย
ทุติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัว สิเรนะหัง,   ข้าพเจ้าไหว้พระธรรมนั้นอันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึก
องค์ที่สองด้วยเศียรเกล้า
ธัมมัสสาหิสฺมิ ทาโส(ทาสี) วะ                          ข้าพเจ้าเป็นทาสของพระธรรม พระธรรมเป็น
ธัมโม เม สามิกิสสะโร,                                     นายมีอิสระเหนือข้าพเจ้า
ธัมโ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม,พระธรรมเป็นเครื่องกำจัดทุกข์และทรงไว้
ซึ่งประโยชน์แก่ข้าพเจ้า
ธัมมัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง,      ข้าพเจ้ามอบกายถวายชีวิตนี้แด่พระธรรม
วันทันโต(ตีหัง) จะริสสามิ ธัมมัสเสวะ             พระธรรมเป็นสรณะอันประเสริฐของข้าพเจ้า
สุธัมมะตัง,                                                       ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่จักประพฤติตาม
ซึ่งเป็นธรรมดีของพระธรรม
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง,                                สรณะอื่นของข้าพเจ้าไม่มี
ธัมโม เม สะระณัง วะรัง,                                  พระธรรมเป็นสรณะอันประเสริฐของข้าพเจ้า
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง                    ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้ ข้าพเจ้าพึงเจริญ
ในพระศาสนาของพระศาสดา
สัตถุสาสะเน,ธัมมัง เม วันทะมาเนนะ              ข้าพเจ้าไหว้อยู่ซึ่งพระธรรม
(มานายะ)ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ,                   ได้ขวนขวายบุญใดในบัดนี้
สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ             อันตรายทั้งปวง อย่าได้มีแก่ข้าพเจ้า ด้วยเดช
เตชะสา,                                                           แห่งบุญนั้น
(หมอบลงกล่าวว่า)
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,                       ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี
ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง,                     กรรมน่าติเตียนอันใด ที่ข้าพเจ้ากระทำแล้วในพระธรรม
ธัมโม ปฏิคคัณหะตุ อ้จจะยันตัง,                     ขอพระธรรม จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น
กาลันตะเร สังวะริตัง วะ ธัมเม.                        เพื่อการสำรวมระวังในพระธรรมในกาลต่อไป
๕ สังฆานุสสติ
(หัวหน้านำ)
หันทะ มะยัง สังหานุสสตินะยัง กะโรมะ เสฯ  เราทั้งหลายจงขับสรรเสริญพระธรรมกันเถิด
(ร้บพร้อมกัน)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,          สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใดปฏิบัติดีแล้ว
อุชุปฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,          สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใดปฏิบัติตรงแล้ว
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,    สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด
ปฏิบัติธรรมเพื่อความเป็นเครื่องออกจากทุกข์แล้ว
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,    สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติสมควรแล้ว
ยะทิทัง,จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ                   ได้แก่บุคคลเหล่านี้คือคู่แห่งบุรุษ คู่
ปุริสะปุคคะลา,                                                            นับเรียงตัวบุรุษได้ บุรุษ
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,                      นั่นแหละ สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า
อาหุเนยโย,                                                       เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขานำมาบูชา
ปาหุเนยโย,                                                      เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะทีเขาจัดไว้ต้อนรับ
ทักขิเณยโย,                                                     เป็นผู้ควรรับทักษิณาทาน
อัญชะลีกะระณีโย,                                            เป็นผู้ที่บุคคลทั่วไปควรทำอัญชลี
อะนุตตะรัง ปัญญักเขตตัง โลกัสสา ติ,             เป็นเนื้อนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่าดังนี้
. สังฆาภิคีติ
(หัวหน้านำ)
หันทะ มะยัง สังฆาภิคิติง กะโรมะ เสฯ            เราทั้งหลายจงขับสรรเสริญพระธรรมกันเถิด
(รับพร้อมกัน)
สัทธัมมะโช สุปะฏิปัตติคุณาทิยุตโต,               พระสงฆ์ที่เกิดโดยพระสัทธรรมประกอบด้วยคุณ
มีความปฏิบัติดีเป็นต้น
โยฏฐัพพิโธ อะริยปัคคะละสังฆะเสฏโฐ,          เป็นหมู่แห่งพระอริยบุคคลอันประเสริฐ จำพวก
สีลาทิธัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต,              มีกายและจิต อันอาศัยธรรมมีศีลเป็นต้นอันบวร
วันทามะหัง ตะมะริยานะคะณัง สุสุทธัง,         ข้าพเจ้าไหว้หมู่แห่งพระอริยเจ้าเหล่านั้นอันบริสุทธิ์
สังโฆ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง                    ด้วยดีพระสงฆ์หมู่ใดเป็นสรณะ
เขมะมุตตะมัง,                                                 อันเกษมสูงสุดของสัตว์ทั้งหลาย
ตะติยานุสสติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง,    ข้าพเจ้าไหว้พระสงฆ์หมู่นั้นอันเป็นที่ตั้งแห่ง
ความระลึกถึงองค์ที่สามด้วยเศียรเกล้า
สังฆัสสาหัสฺมิ ทาโส(ทาสี) วะ                          ข้าพเจ้าเป็นทาสของพระสงฆ์ พระสงฆ์เป็นนาย
สังโฆ เม สามิกิสสะโร,                                     มีอิสระเหนือข้าพเจ้า
สังโฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ                พระสงฆ์เป็นเครื่องกำจัดทุกข์
หิตัสสะ เม,                                                      และทรงไว้ซึ่งประโยชน์แก่ข้าพเจ้า
สังฆัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง,      ข้าพเจ้ามอบกายถวายชีวิตนี้แด่พระสงฆ์
วันทันโต(ตีหัง) จะริสสามิ                               ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่จักประพฤติตามซึ่งความปฏิบัติ
สังฆัสโสปฏิปันนะตัง,                                     ดีของพระสงฆ์
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง                                 สรณะอื่นของข้าพเจ้าไม่มี
สังโฆ เม สะระณัง วะรัง,                                  พระสงฆ์เป็นสรณะอันประเสริฐของข้าพเจ้า
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง                    ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้
สัตถุสาสะเน,                                                   ข้าพเจ้าพึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา
สังฆัง เม วันทะมาเนนะ(มานายะ)                   ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่ซึ่งพระสงฆ์
ยัง ปัญญัง ปะสุตัง อิธะ,                                  ได้ขวนขวายบุญใดในบัดนี้
สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง                        อันตรายทั้งปวงอย่าได้มีแก่ข้าพเจ้า
ตัสสะ เตชะสา,                                                            ด้วยเดชแห่งบุญนั้น
(หมอบลงว่า)
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,                       ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี
สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง,                     กรรมอันน่าติเตียนอันใด ที่ข้าพเจ้ากระทำแล้ว
ในพระสงฆ์
สังโฆ ปะฏิคัณฺหะตุ อัจจะยันตัง,                     ขอพระสงฆ์ จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ.                        เพื่อการสำรวมระวังในพระสงฆ์ในกาลต่อไป
อตีตปัจจเวกขณปาฐะ
 (ผู้นำ)
หันทะ มะยัง อะตีตะปัจจะเวกขณะปาฐัง         เราทั้งหลายจงสวดอะตีตะปัจจเวกขณะปาฐะ
ภะณามะ เสฯ                                                   กันเถิด
(รับพร้อมกัน)
๑ ว่าด้วยจีวร
อัชชะ มะยา อะปัจจะเวกขิตฺวา ยัง จีวะรัง        จีวรใดอันเรานุ่งห่มแล้ว ไม่ทันพิจารณา ในวันนี้
ปะริภุตตัง,ตัง ยาวะเทวะ สีตัสสะ                    จีวรนั้น เรานุ่งห่มแล้ว เพียงเพื่อบำบัด
ปะฏิฆาตายะ,                                                  ความหนาว
อุณหัสสะ ปะฏิฆาตายะ,                                  เพื่อบำบัดความร้อน
ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริง                         เพื่อบำบัดสัมผัสอันเกิดจาก
สะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ,                     เหลือบ ยุง ลม แดด และสัตว์เลื้อยคลานทั้งหลาย
ยาวะเทวะ หิริโกปินะปะฏิจฉาทะนัตถัง          และเพียงเพื่อปกปิดอวัยวะ อันให้เกิดความละอาย
๒ ว่าด้วยปิณฑบาตร
อัชชะ มะยา อะปัจจะเวกขิตฺวา                        บิณฑบาตอันใด เราฉันแล้ว
โย ปิณฑะปาโต ปะริภุตโต,                              ไม่ทันพิจารณาในวันนี้
โส เนวะ ทะวายะ นะมะทายะ                          บิณฑบาตนั้น เราฉันแล้ว ไม่ใช่เป็นไปเพื่อ
นะมะทายะ นะ มัณฑะนายะ                            ความเพลิดเพลินสนุกสนานไม่ใช่เพื่อความเมามันเกิด
กำลังพลังทางกาย
นะวิภูสะนายะ                                                 ไม่ใช่เป็นไปเพื่อประดับ ไม่ใช่เป็นไปเพื่อตกแต่ง,
ยาวะเทวะ อิมัสสะ กายัสสะ ฐิติยา,                  แต่ให้เป็นไปเพียงเพื่อความตั้งอยู่ได้แห่งกายนี้
ยาปะนายะ,                                                      เพื่อความเป็นไปได้ของอัตภาพ
วิหิงสุปะระติยา,                                              เพื่อความสิ้นไปแห่งความลำบากทางกาย
พฺรหฺมจะริยานุคคาหายะ,                                เพื่ออนุเคราะห์แก่การประพฤติพรหมจรรย์,
อิติ ปุราณัญจะ เวทะนัง ปะฏิหังขามิ               ด้วยการทำอย่างนี้ เราย่อมระงับเสียได้
ซึ่งทุกขเวทนาเก่า คือความหิว
นะวัญจะ เวทะนัง นะ อุปปาเทสสามิ,              และไม่ทำทุกขเวทนาใหม่ให้เกิดขึ้น
ยาตรา จะ เม ภะวิสสะติ,                                  อนึ่ง ความเป็นไปโดยสะดวกแห่งอัตภาพนี้ด้วย
อะนะวัชชะตา จะ ผาสุวิหาโร จาติ,                  ความเป็นผู้หาโทษมิได้ด้วย,และความผาสุกด้วย,
จักมีแก่เรา,ดังนี้
๓ ว่าด้วยเสนาสนะ
อัชชะ มะยา อะปัจจะเวกขิตวา                                    เสานาสนะใด อันเราใช้สอยแล้ว
ยัง เสนาสนัง ปะริภุตตัง,                                 ไม่ทันพิจารณาในวันนี้
ตัง ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ,               เสานาสนะนั้น เราใช้สอยแล้ว เพียงเพื่อบำบัดความหนาว,
อุณหัสสะ ปะฏิฆาตายะ,                                  เพื่อบำบัดความร้อน
ฑังสะมะกะสะวาตะตะปะสิริง                         เพื่อบำบัดสัมผัสอันเกิดจาก เหลือบ ยุง ลม แดด
สะปะสัมผัสสานังปะฏิฆาตายะ,                      และสัตว์เลื้อยคลานทั้งหลาย
ยาวะเทวะ อุตุปะริสสะยะวิโนทะนัง                เพียงเพื่อบรรเทาอันตรายอันจะพึงมีจากดินฟ้าอากาศ
ปะฏิสัลลานารามัตถัง,,                                                และเพื่อความเป็นผู้ยินดีอยู่ได้ ในที่หลีกเร้นสำหรับภาวนา
ว่าด้วยคิลานเภสัข
อัชชะ มะยา อะปัจจะเวกขิตฺวา                        คิลานเภสัชบริขารใด
โย คิลานะปัจจะยะเภสัชชะ                              อันเราบริโภคแล้ว
ปริกขาโร ปะริภุตโต                                         ไม่ทันพิจารณาในวันนี้
โส ยาวะเทวะ อุปปันนานัง เวยยาพาธิกานัง    คิลานะเภสัชบริขารนั้น เราบริโภคแล้ว เพียง
เวทะนานั้ง ปะฏิฆาตายะ,                                เพื่อบำบัดทุกชเวทนาอันบั้งเกิดขึ้นแล้ว
มีอาพาธต่างๆ เป็นมูล
อัพฺยาปัชฌะปะระมัตตายาติ,                           เพื่อความเป็นผู้ไม่มีโรคเบียดเบียนเป็นอย่างยิ่ง ดังนี้
กายาคตาสติภาวนาปาฐะ
(หัวหน้ากล่าวนำ)
หันทะ มะยัง กายะคะตาสติภาวะนาปาฐัง       เชิญเถิด เราทั้งหลายสวดกายะคะตาสติ
ภะณามะ เส                                                      กันเถิด
(รับพร้อมกัน)
อะยัง โข เม กาโย                                             กายของเรานี้แล
อุทธัง ปาทะตะลา                                            เบื้องบนแต่พื้นเท้าขึ้นมา
อะโธ เกสะมัตถะกา                                          เบื้องต่ำแต่ปลายผมลงไป
ตะจะปะริยันโต                                                มีหนังหุ้มอยู่เป็นที่สุดรอบ
ปูโร นานัปปะการรสสะ อะสุจิโน                     เต็มไปด้วยของไม่สะอาดมีประการต่างๆ
อัตถิ อิมัสมิง กาเย                                            มีอยู่ในกายนี้
เกสา                                                             คือผมทั้งหลาย
โลมา                                                            คือขนทั้งหลาย
นะขา                                                           คือเล็บทั้งหลาย
ทันตา                                                          คือฟันทั้งหลาย
ตะโจ                                                            คือหนัง
มังสัง                                                            คือเนื้อ
นะหารู                                                         คือเอ็นทั้งหลาย
  อัฏฐิ                                                            คือกระดูกทั้งหลาย
อัฏฐิมัญชัง                                                   เยื่อในกระดูก
๑๐ วักกัง                                                          ม้าม
๑๑ หะทะยัง                                                     หัวใจ
๑๒ ยะกะนัง                                                    ตับ
๑๓ กิโลมะกัง                                                   พังผืด
๑๔ ปิหะกัง                                                     ไต
๑๕ ปัปผาสัง                                                    ปอด
๑๖ อันตัง                                                         ใส้ใหญ่
๑๗ อันตะคุณัง                                                 ไส้น้อย
๑๘ อุทะริยัง                                                     อาหารใหม่
๑๙ กะรีสัง                                                        อาหารเก่า
๒๐ มัตถะเก มัตถะลุงคัง                                  เยื่อในสมองศีระษะ
๒๑ ปิตตัง                                                        น้ำดี
๒๒ เสมหัง                                                      น้ำเสลด
๒๓ ปุพโพ                                                       น้ำเหลือง
๒๔ โลหิตัง                                                      น้ำเลือด
๒๕ เสโท                                                         น้ำเหงื่อ
๒๖ เมโท                                                          น้ำมันข้น
๒๗ อัสสุ                                                          น้ำตา
๒๘ วะสา                                                        น้ำมันเหลว
๒๙ โขโฬ                                                         น้ำลาย
๓๐ สังฆาณิกา                                                 น้ำมูก
๓๑ ละสิกา                                                       น้ำไขข้อ
๓๒ มุตตัง                                                       น้ำมูตร
เอวะมะยัง เม กาโย                                           กายของเรานี้อย่างนี้
อุทธัง ปาทะตะลา                                            เบื้องบนแต่พื้นเท้าขึ้นมา
อะโธ เกสะมัตถะกา                                          เบื้องต่ำแต่ปลายผมลงไป
ตะจะปะริยันโต                                                มีหนังหุ้มอยู่เป็นที่สุดรอบ
ปูโร นานัปปะการัสสะ อะสุจิโน                       เต็มไปด้วยของไม่สะอาดมีประการต่างๆ อย่างนี้แล


พฺหหมวิหาระผะระณาคาถา
(หัวหน้ากล่าวนำ)
หันทะ มะยัง พฺรัหฺมะวิหาระผะระณา               เราทั้งหลายสวดพฺรหฺมะวิหารผะระณาคาถา
คาถาโยภะณามะ เส                                         กันเถิด
(รับพร้อมกัน)
(เมตตา)
สัพเพ สัตตาอะเวรา โหนตุ                               สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีเวรเถิด
อัพฺยาปัชฌา โหนตุ                                          จงเป็นผู้ไม่เบียดเบียนกันเถิด
อะนีฆา โหนตุ                                                  จงเป็นผู้ไม่มีทุกข์กายทุกข์ใจเถิด
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ                                 จงเป็นผู้มีสุขรักษาตนเถิด
(กรุณา)
สัพเพ สัตตา ทุกขา ปะมัจจันตุ                        สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงจงพ้นจากทุกข์เถิด
(มุทิตา)
สัพเพ สัตตา                                                    สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง
มา ลัทธะสัมปัตติดต วิคัจฉันตุ                        จงอย่าปราศจากจากสมบัติอันตนได้แล้วเถิด
(อุเบกขา)
สัพเพ สัตตา กัมมัสสกา                                   สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงเป็นผู้มีกรรมเป็นของๆ ตน
กัมมะทายาทา                                                  เป็นผู้รับผลของกรรม
กัมมะโยนี                                                        เป็นผู้มีกรรมเป็นกำเนิด
กัมมะพันธู                                                       เป็นผู้มีกรรมเป็นเผ่าพันธ์
กัมมะปะฏิสะระณา                                          เป็นผู้มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย
ยัง กัมมัง กะริสสันติ                                        จักทำกรรมอันใดไว้
กัลป์ยาณัง วา ปาปะกัง                                    ว่าดีหรือชั่ว
ตัสสะ ทายาทา ภวิสสันติ                                 จักเป็นผู้รับผลของกรรมนั้น
สัพเพ สัตตา สทา โหนตุ                                  สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง
อะเวรา สุขะชีวิโน                                            อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย จงเป็นผู้ดำรงชีพ
อยู่เป็นสุขทุกเมื่อเทอญ
กะตัง ปุญญัง ผะลัง มัยหัง                               ขอสัตว์ทั้งหลาย จงได้เสวยผลบุญ
สัพเพ ภาคี ภะวันตุ เต,                                                ที่ข้าพเจ้าด้วยกาย วาจาใจ แล้วนั้นเทอญ,
โหตุ สัพพัง สุมังคะลัง รักขันตุ                        ขอสรรพมงคลจงมี ขอเทพดาจงรักษา
สัพพะเทวะตา สัพพะพุทธานุภาเวน               ด้วยพุทธานุภาพขอความสวัสดีจงมี
โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง                                    ตลอดไป
โหตุ สัพพัง สุมังคะลัง รักขันตุ                        ขอสรรพมงคลจงมี ขอเทพดาจงรักษา
สัพพะเทวะตาสัพพะธัมมานุภาเวน                 ด้วยธัมมานุภาพขอความสวัสดีจงมี
โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง                                    ตลอดไป
โหตุ สัพพัง สุมังคะลัง รักขันตุ                        ขอสรรพมงคลจงมี ขอเทพดาจงรักษา
สัพพะเทวะตา สัพพะสังฆานุภาเวน               ด้วยสังฆานุภาพขอความสวัสดีจงมี
โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง                                    ตลอดไป

ไม่มีความคิดเห็น: