วันจันทร์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Meditation Handbook 7

วิธีการกำหนดรู้ลม                                                                 Focusing the breath
ปล่อยลมตามสบาย ทำใจให้นิ่ง ๆ ไว้ที่ลมหายใจ                              Let the breath be relaxed and natural. Keep your mind
เข้าออกที่มีในช่องจมูก เมื่อลมออก อย่าส่งจิต                   perfectly still, focused on the breath as it comes in and out
ออกตามลม  เมื่อลมเข้า อย่าส่งจิตเข้าตามลม                      of the nostrils: When the breath goes out, don’t send the
ทำความรู้สึกอย่างกว้างขวางเบิกบาน แต่อย่า                     mind out after it. When the breath comes in, don’t let
สะกดจิตให้มากเกินไป ให้ทำใจสบายๆ                             the mind follow it in. Let your awareness be broad and open.
เหมือนเราหายใจออกไปในอากาศโปร่งฉะนั้น                 Don’t force the mind too much. Relax. Pretend that you are
ทำจิตให้นิ่งอยู่เหมือนเสาที่ปักไว้ริมฝั่งทะเล                      breathing out in the wide open air. Keep the mind still, like
น้ำทะเลขึ้น เสาก็ไม่ขึ้นตาม น้ำทะเลลง เสาก็                      a post at the edge of the sea: When the water rises, the post
ไม่ลงตาม                                                                               doesn’t rise with it; when the water ebbs, the post doesn’t
                                                                                                Sink.
                                                                                               
หยุดคำภาวนา                                                                        Stop thinking’buddho’
เมื่อทำจิตนิ่งสงบได้ในขั้นนี้แล้วให้หยุดคำภาวนา             When you have reached this level of stillness, you can
พุทโธ นั้นเสีย กำหนดความรู้สึกไว้เฉพาะลมหายใจ         stop thinking ‘ buddho’. Simply be aware of the feeling of
 the breath.
แล้วค่อยขยับจิตเลื่อนเข้าไปตามกองลม คือ กองลม        Then slowly bring your mind inward, focusing it on the
สำคัญๆ อันจะทำให้เกิดความรู้สึกต่างๆเช่น ทิพพจักขุ     various parts of the breath—i.e. the important parts that
ตาทิพย์,ทิพพโสต หูทิพย์ฐ, เจโตปริยญาณ รู้ใจ                 that can give rise to intuitive of various kind: e.g.
คนอื่น, ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ระลึกชาติได้,                  dibbacakkhu, clairvoyance; dibbasota, clairaudience;
จุตูปปาตญาณ รู้จักความเกิดตายแห่งสัตว์ต่างๆ ,                                cetopariya-ñāṇa, the ability to know the minds of
นานาธาตุวิชชา วิชาความรู้ในเรืองของธาตุต่างๆ                               others; pubenivāsānussati-ñāṇa, the ability to remember
ที่เกี่ยวเนื่องถึงอัตภาพร่างกาย อันจะเป็นประโยชน์          previous lives; cutūpapāta-ñṣāṇa, the ability to know where
แก่ร่างกาย                                                                              different people and animals are reborn after death;
                                                                                                nānādhātu-vijjā, knowledge of the various elements or
                                                                                                Potentials that are connected with, and can be of use to,
                                                                                                the body.
ประสานกองลม                                                                      Mix the Breath.

ธาตุเหล่านี้ย่อมเกิดขึ้นจากฐานของลมหายใจ                     These elements arise out of the bases of the breath.
ฐานที่ ๑                                                                                   The first Base.
ให้ตั้งจิตไว้ที่จมูก แล้วค่อยเลื่อนไปกลางหน้าผาก            Center the mind on  the tip of the nose, and then
อันเป็นฐานที่ ๒                                                                     slowly move it to the middle of the forehead,
ฐานที่ ๒                                                                                  The second Base.
ทำความรู้สึกอย่างกว้างขวาง ทำจิตให้นิ่งไว้ที่หน้าผาก      Keep your awareness broad. Let the mind rest for
แล้วกลับมาที่จมูก ให้เพ่งขึ้นลงในระหว่างจมูกกับ           a moment at the forehead, and then bring it back to
หน้าผาก รายกับคนขึ้นภูเขาฉะนั้น ทำให้ได้สัก ๗ เที่ยว   the nose. Keep moving it back and forth between
แล้วก็นิ่งไว้ที่หน้าผาก อย่าให้จิตลงมาที่จมูกอีก ต่อนั้น    the nose and the forehead- like a person climbing up
ให้ตามเข้าไปในฐานที่ ๓                                                      and down a mountain—seven times. Then let it settle at
                                                                                                the forehead. Don’t let it go back to the nose. From here
                                                                                                let it move to The Third Base.
ฐานที่ ๓                                                                                  The Third Base.
ฐานที่ ๓ คือกลางกระหม่อมข้างนอก แล้วหยุดอยู่กลาง   The third bas is the middle of the top of the head, and
กระหม่อม ทำความรู้สึกอย่างกว้างขวาง สูดลมใน            let it settle there for a moment. Keep your awareness
อากาศเข้าไปในศีรษะ กระจายลมครู่หนึ่ง จึงกลับ                             broad. Inhale the breath at that spot, let the breath spread
ลงมาที่หน้าผาก กลับไป กลับมา ในระหว่างหน้าผาก       throughout the head for a moment. Keep your awareness
กับกลางกระหม่อมอยู่เช่นนี้ สัก ๑๐ เที่ยว แล้วก็นิ่ง          broad. Inhale the heath at that spot, let the breath spread  
อยู่กลางกระหม่อม                                                                                throughout the head for a moment, and then return the mind
                                                                                                to the middle of the forehead. Move the mind back and forth
                                                                                                between the forehead and the top of the head seven times.
                                                                                                Finally letting it rest on the top of the head. Then bring it
                                                                                                into the Fourth Base.
ฐานที่ ๔                                                                                  The Fourth Base.
ตามเข้าไปในฐานที่ ๔ อีกคือ ลงไปในสมองกลาง            The fourth base is the middle of the brain. Let it be still
กะโหลกศีรษะ ให้นิ่งอยู่สักครู่หนึ่ง จึงเลื่อนจิตให้            for a moment, and then bring it back out to the top of the
ออกไปที่กลางกระหม่อมข้างนอก กลับไป กลับมา         head. Keep moving it back and forth between these two
ติดต่อกันระหว่างกลางกระสมองกับกลางกระหม่อม       spots, finally letting it settle in the middle of the brain.
ข้างนอก แล้วก็นิ่งอยู่ที่สมอง ทำความรู้สึกให้                    Keep your awareness broad.
กว้างขวาง กระจายลมอันละเอียดจากสมองให้ลง                             Let the refined breath in the brain spread to
ไปเบื้องต่ำ                                                                              the lower parts of the body.
เมื่อทำจิตมาถึงตอนนี้แล้ว บางทีก็จะเกิด                            When you reach this point you may find that the breath
นิมิตขึ้นเป็นต้นว่า รู้สึกขึ้นในศีรษะ แลเห็นหรือ                               starts giving rise to various signs (nimitta) – e.g.seeing
รู้สึกเสียวๆ ให้เย็นๆ ร้อนๆ ให้เป็นไอเป็นหมอก                               or feeling hot, cold or tingling sensations in the head.
สลัวๆ ขึ้น บางทีก็มองเห็นกะโหลกศีรษะของ                   You may see a pale, murky vapor, or your own skull.
ตัวเอง ถึงอย่างนั้นก็อย่าได้มีความหวั่นไหวไปตาม          Even so, don’t let yourself be affected by whatever
นิมิตที่ปรากฏ                                                                        nimitta appears.
ถ้าเราไม่ปรารถนาทีจะให้เป็นเช่นนั้น ก็จะสูดลม                              If you don’t want the nimitta to appear, breathe deep
เข้าไปยาวๆ ถึงหัวอก นิมิตเหล่านั้นก็จะหายไป                 and long, down into the heart, and it will immediately
ทันที                                                                                       go away.
เมื่อเห็นนิมิตอันใดอันหนึ่งเกิดขึ้นแล้ว                                               When you see that a nimitta has arisen, mindfully
ให้ตั้งสติรู้อยู่ทีนิมิต แต่ให้เอานิมิตเดียว สุดแท้แต่             focus your awareness on it—but be sure to  focus on only
นิมิตอันใดเป็นทีสบาย เมื่อจับนิมิตได้แล้วให้                   one nimitta at a time, choosing whichever one is most
ขยายนิมิตนั้นออกไปให้โตเท่าศีรษะ นิมิตที่                      comfortable. Once you have got hold of it, expand it
ขาวสว่างนั้นมีประโยชน์แก่กาย แก่ใจ คือ                          so that it is as large as you head. The bright white nimitta
เป็นลมบริสุทธิ์สะอาด ลมบริสุทธิ์สะอาดนี้                        is useful to the body and mind: It is a pure breath which
ย่อมเป็นเครื่องฟอกโลหิตในร่างกายท่านได้                     can cleanse the blood in the body,
อย่างดี สามารถจะบรรเทาหรือกำจัดทุกขเวทนา                               reducing or eliminating
ในร่างกายได้                                                                         feelings of pain.
เมื่อทำได้เท่าศีรษะของตนแล้ว ให้เลื่อนลงไปตั้ง                              When you have this nimitta as large as the head,
ไว้ในฐานที่ ๕                                                                        bring it  down to the Fifth Base.

ฐานที่ ๕                                                                                  The Fifth Base.
เมื่อวางไว้ในฐานที่ ๕ คือทรวงอกแล้ว ให้นึก                   When setting it at the Fifth Base: the center of the chest.
เอานิมิตแห่งลมไปตั้งไว้ ขยายออกให้เต็มทรวงอก           Once it is firmly settled, let it spread out to fill the chest.
ทำลมอันนั้นให้ขาวสว่าง กระจายลม กระจาย                   Make this breath as white and as  bright as possible,
แสงสว่างไปทั่วทุกขุมขน จนกว่าจะมองเห็น                     and then let both the breath and the light spread
ส่วนต่างๆ ของร่างกายปรากฏเป็นภาพขึ้นมาเอง                                throughout the body, out to every pore, until different
ถ้าไม่ต้องการภาพอันนั้น ก็ให้สุดลมหายใจยาวๆ                              parts of the body appear on their own as pictures. If
เสีย ๒-๓ ครั้ง ภาพนั้นก็จะหายไปทันที                                              you don’t want the pictures, take two or three long brreaths,
and they will disappear.
แล้วทำให้จิตนิ่งอยู่โดยกว้างขวาง แม้จะมีนิมิต                  Keep your awareness still and expansive. Don’t let it
อะไรผ่านมาในรัศมีแห่งลม อย่าเพิ่งไปจับเอา                    latch onto or be affected by any nimitta that may happen
อย่าทำจิตให้หวั่นไหวไปตามนิมิต ประคองจิต                 to pass into the brightness of the breath. Keep careful
ไว้ให้ดี ทำจิตให้เป็นหนึ่ง พยายามตั้งจิตไว้                        watch over the mind. Keep it one.
ในอารมณ์อันเดียว คือ ลมหายใจอันละเอียด                     Keep it intent on a single pre-occupation,
และขยายลมอันละเอียดนั้นให้กว้างขวางออก                   the refined breath, letting this refined
ไปทั่วสรรพางค์กาย                                                              breath suffuse the entire body.
เมื่อทำจิตถึงตอนนี้ จะค่อยเกิดวิชาความรู้ขึ้น                    When you have reach this point,
ตามลำดับ กายของเราก็จะเบาเหมือนปุยนุ่น                      knowledge will gradually begin to unfold.
ใจก็จะเอิบอิ่ม นิ่มนวล วิเวกสงัด ได้รับ                                              The body will be light,  like fluff. The mind
ความสุขกายสบายจิตเป็นอย่างยิ่ง เมื่อต้องการ                   will be rested and refreshed –
วิชาความรู้ต่าง ๆ ก็ทำจิตให้นิ่ง วางอารมณ์                         supple, solitary and self-contained.
ทั้งหมดให้เหลืออยู่แต่ความสว่างความว่าง                         There will be an extreme sense of
อย่างเดียว                                                                               physical pleasure and mental ease.
เมื่อประสงค์สิ่งใดในส่วนวิชาความรู้หรือ                          If you want to acquire knowledge and skill, practice these
นิมิตเป็นภาพปรากฏขึ้นทันที เรียกว่า                                 steps until you are adept at entering, leaving and staying
มโนภาพ ถ้าจะให้ดีและชำนาญในสิ่งเหล่านี้                      in place. When you have mastered them, you will be able
ให้ศึกษากับท่านผู้เคยปฏิบัติในทางนี้จะดีมาก                    to give rise to the nimitta of the breath—the brilliantly
เพราะวิชาตอนนี้ เป็นวิชาที่เกิดขึ้นจากสมาธิ                      white ball or lump of light—whenever you want. When
อย่างเดียวเท่านั้น                                                                   you want knowledge, make the mind still, let go of all
pre-occupations, leaving just the birhgtness. Think one or
two times of whatever you want to know—of things internal
or external, concerning yourself or others- and the knowledge
 will arise, or a mental picture will  appear. To become
 thoroughly expert, you should if possible study directly
with someone who has practiced and is skilled in these
matters, because knowledge of this sort can come only
from the practice of centering the mind.
วิชาในเรื่องสมาธินั้นมีอยู่ ๒ แผนก เป็นไป                        The knowledge that comes from centering the mind
ด้วยกับโลกีย์อย่างหนึ่ง เป็นไปกับด้วย                                              falls into two classes: mundance(lokiya) and transcendent
โลกุตรอย่างหนึ่ง วิชาโลกีย์ คือ ติดความรู้                         (lokuttatra). To say that your knowledge is on the mundance
ความเห็นของตนเองนี้หนี่ง ติดสิ่งทั้งหลาย                        level means that you are attached to your knowledge and
ที่มาปรากฏให้เรารู้เราเห็นนี้อย่างหนึ่ง วิชาก็ดี                   view on the one hand, and to the things which appear
สิ่งที่ให้เรารู้เราเห็นด้วยอำนาจแห่งวิชาก็ดี                          and give rise to  your knowledge on the other. Your
เป็นของจริงและของไม่จริงเจืออยู่ด้วยกันทั้งสิ้น                              knowledge and the things which give you knowledge
แต่ของจริงในที่นี้เป็นส่วนสังขารธรรมทั้งสิ้น                   due to the power of your skill are composed of true and
ขึ้นชื่อว่าสังขารแล้ว ย่อมไม่เที่ยง ไม่มั่นคงถาวร                               false intermixed- but the truth, here, is  truth simply on
                                                                                                the level of mental fasioning; and whatever is fashioned is
                                                                                                by nature changeable, unstable and inconstand.
ฉะนั้น เมื่อต้องการโลกุตรต่อไป ให้รวมสิ่งที่เรารู้                            So when you want to go on to the transcendent level,      
เราเห็นทั้งหมดเข้ามาเป็นจุดอันเดียวคือ                              gather all the things you know and see into a single point--
เอกัคคตารมณ์ ให้เห็นเป็นสภาพอันเดียวกันทั้งหมด         i.e. ekaggatārammaṇa – and see that they are all of the same
เอาวิชาความรู้ทั้งหลายเหล่านั้นให้มารวมอยู่ในจุด            nature. Take all of your knowledge and awareness and gather
อันนั้นจนรู้แจ้งเห็นจริงว่า สิ่งทั้งหลายเหล่านี้เกิดขึ้น         it into the same point, until you can clearly see the truth:
แล้วย่อมดับไปเป็นธรรมดา แล้วอย่ายึดถือในสิ่งที่รู้         that all of these things, by their nature, simply arise and
ที่เห็นมาเป็นของๆ ตน อย่ายึดความรู้ความเห็นที่เกิด        all away. Don’t try to latch onto the things you know -
จากตนมาเป็นของๆ ตน ให้ปล่อยวางเสียตามสภาพ          your pre-occupations—as yours. Don’t try to latch onto
ถ้าไปยึดถืออารมณ์ ก็เท่ากับยึดทุกข์ ยึดความรู้                 the knowledge that has arisen from yourself as your own.
ของตนจะเกิดเป็นเหตุแห่งทุกข์คือ สมุทัย                          Let these things be, in line with their own inherent natures.
                                                                                                If you latch on to your pre-occupations, you are latching on
to stress and pain. If you hold on to your knowledge,
it will turn into the cause of stress.
ฉะนั้น จิตที่นิ่งสงบเป็นสมาธิแล้วเกิดวิชชา ๆ นั้น             Thus: A mind which is centered and still gives rise to
เป็นมรรค สิ่งทีเรารู้ต่างๆ ที่ผ่านมาเป็นทุกข์ จิตเราอย่า      knowledge. This knowledge is the Path. All of the things
เข้าไปยึดเอาวิชชา อย่าเข้าไปยึดเอาอารมณ์ที่มาแสดง       which come-passing by for us to know are stress. Don’t
ให้เรารู้ ล่อยวางไปตามสภาพ ทำจิตให้สบายๆ ไม่ยึด        let the mind fasten onto its knowledge. Don’t let it fasten
จิต ไม่สมมุติจิตของตนว่า เป็นอย่างนั้นอย่างนี้                  onto the pre-occupations which appear for you to know.
ถ้ายังสมมุติตนเองอยู่ตราบใด ก็เป็นอวิชชาอยู่ตราบนั้น   Let them be in line with their nature. Put your mind at ease.
เมื่อรู้ได้โดยอาการอย่างนี้ ก็จะกลายเป็นโลกุตรขึ้นในตน               Don’t fasten onto the mind, or suppose the mind to be this
จะเป็นบุญกุศลอย่างประเสริฐสูงสุดในฐานะที่เป็นมนุษย์ or that. As long as you suppose yourself, you are suffering
พุทธบริษัทของพระพุทธเจ้า                                                                from obscured awareness(avijjā). When you can truly
know in this manner, the transcendent will arise within
you—the noblest good, the most exalted happiness

a human being can know.

ไม่มีความคิดเห็น: