วันอาทิตย์ที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2556

สิงคาลสูตร ๖ ๒๕-๓-๕๖


จะตูหิ โข คะหะปะติปุตตะ                              ดูก่อนคฤหบดีบุตร 
ฐาเนหิ อะนุปปิยะภาณี                                                คนช่างพูดประสบสอพลอ ท่านพึงรู้ว่าไม่ใช่มิตร
อะมิตโต มิตตะปะฏิรูปะโก เวทิตัพโพ.            เป็นแต่มิตรเทียม ด้วยสถาน อย่าง
ปาปะกัมมังปิสสะ อะนุชานาติ                         คือย่อมตามใจเพื่อน ให้ทำชั่วอย่าง
กัลป์ยาณังปิ อะนุชานาติ                                  ย่อมตามใจเพื่อนให้ทำความดีอย่าง
สัมมุขันสสะ วัณณัง ภาสะติ                            ต่อหน้ากล่าวสรรเสริญคุณเพื่อนอย่าง๑
ปะรัมมุขัสสะ อะวัณณัง ภาสะติ                       ลับหลังกล่าวโทษของเพื่อนอย่าง
อิเมหิ โข คะหะปะติปุตตะ                               ดูก่อนคฤหบดีบุตร 
จะตูหิ ฐาเนหิ อะนุปปิยะภาณี                          คนช่างพุดประจบสอพลอ ท่านพึงรู้ว่าไม่ใช่มิตร
อะมิตโต มิตตะปะฏิรุปะโก เวทิตัพโพ.            เป็นแต่มิตรเทียม ด้วยสถาน อย่าง เหล่านี้แล
จะตูหิ โข คะหะปะติปุตตะ                              ดูก่อนคฤหบดีบุตร 
ฐาเนหิ อะปายะสะหาโย                                   คนเป็นสหายในความฉิบหาย ท่านพึงรู้ว่าไม่ใช่มิตร
อะมิตโต มิตตะปะฏิรูปะโก เวทิตัพโพ.            เป็นแต่มิตรเทียม ด้วยสถาน อย่าง
สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานานุโยเค            คือเป็นสหายในการประการดิ่มน้ำเมาคือเหล้าและน้ำดอง
สะหาโย โหติ                                                    อันเป็นเหตุที่ตั้งแห่งความประมาทเนืองๆ อย่าง
วิกาละวิสิขาจะริยานุโยเค สหาโย โหติ             เป็นสหายในการประกอบการเทียวในตรอกมืด
ในกาลอันผิดเวลาเนื่องๆ อย่าง
สะมัชชะภิจะระเณ สะหาโย โหติ                      เป็นสหายในการเที่ยวดูการเล่นอย่าง
ชูตัปปะมาทักฐานานุโยเค สหาโย โหติ                        เป็นสหายในความประกอบการพนัน
อันเป็นเหตุที่ตั้งแห่งความประมาทเนื่องๆ อย่าง
อิเมหิ โข คะหะปะติปุตตะ                               ดูก่อนคฤหบดีบุตร คนเป็นสหายในความฉิบหาย
จะตูหิ ฐาเนหิ อะปายะสะหาโย                        ท่านพึงรู้ว่าไม่ใช่มิตร เป็นแต่มิตรเทียม
อะมิตโต มิตตะปะฏิรูปะโก เวทิตัพโพ.            ด้วยสถาน อย่าง เหล่านี้แล
อืทะมะโวจะ ภะคะวา                                       พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสคำอันเป็นไวยากรณ์นี้แล้ว
อิทัง วัตวานะ สุคะโต                                       พระองค์ผู้ศาสดาจึงตรัสคาถาประพันธ์นี้ต่อไปว่า
อัญญะทัตถะหะโร มิตโต                                 มิตรปอกลอกนำไปถ่ายเดียว
โย มิตโต วะจีปะระโม                                   มิตรดีแต่พูด๑
อะนุปปิยัญจะ โย อาหะ                                   มิตรกล่าวคำประจบ
อะปาเยสุ จะ โย สะขา                                      มิตรเป็นเพื่อนในความฉิบหาย
เอเต อะมิตเต จัตตาโร                                      บัณฑิตมารู้แจ้งคน ๔ จำพวกนี้ว่า
อิติ วิญญายะ ปัณฑิโต                                     ไม่ใช่มิตรจริงแล้ว
อาระกา ปะริวัชเชยยะ                                      พึงเว้นเสียให้ห่างไกล
มัคคัง ปะฏิภะยัง ยะถาติ.                                เหมือนคนเดินทาง เว้นทางอันมีภัยเสียฉะนั้น

ไม่มีความคิดเห็น: