วันอาทิตย์ที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2556

สิงคาลสูตร ๗ ๒๕-๓-๕๖


-----------------7
           
----------7
อิทะมะโวจะ ภะคะวา                                       พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสคำอันเป็นไวยากรณ์นี้แล้ว
อิทัง วัตวานะ สุคะโต                                       พระองค์ผู้พระสุคต ครั้นตรัสคำนี้แล้ว
อะถาปะรัง เอตะทะโวจะ สัตถา                       พระองค์ผู้พระศาสดา จึงได้ตรัสคาถาประพันธ์นี้ต่อไปว่า
อุปะกาโร จะ โย มิตโต                                      มิตรมีอุปการะ
สุขะทุกโข จะ โย สะขา                                                มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์
อัตถักขายี จะ โย มิตโต                                    มิตรบอกประโยชน์
โย จะ มิตตานุกัมปะโก                                     มิตรมีความเอ็นดู
เอเตปิ มิตเต จัตตาโร                                        บัณฑิตพึงทราบว่ามิตร จำพวกเหล่านี้
อิติ วิญญาย ปัณฑิโต                                       เป็นมิตรแท้
สักกัจจัง ปะยิรุปาเสยยะ                                  พึงเข้าไปใกล้ โดยเคารพ
มาตา ปุตตังวะ โอระสัง.                                  เพียงดังมารดากับบุตรฉะนั้น.
ปัณฑิโต สีละสัมปันโน                                                บัณฑิตผู้ถึงพร้อมด้วยศีล
ชะลัง อัคคีวะ ภาสะติ                                       รุ่งเรืองส่องสว่างอยู่เพียงดังไฟ
โภเค สังหะระมานัสสะ                                    เมื่อบุคคลมารวบรวมโภคะ
ภะมะรัสเสวะ อิรียะโต                                     เป็นไปอยู่อย่างแมลงผึ้ง
โภคา สันนิจะยัง ยันติ                                      โภคะทั้งหลาย ย่อมถึงความเพิมพูนขึ้น
วัมมิโกวูปจียะติ                                               เหมือนจอมปลวกที่ตัวปลวกก่อขึ้น ฉะนั้น
เอวัง โภเค สะมาหะริตฺวา                                 คฤหัสถ์ในสกุลผู้สามารถ ครั้นรวบรวมโภคะ
อะละมัตโต กุเล คีหี                                          ได้อย่างนี้แล้ว
จะตุธา วิภะเช โภเค                                          พึงแบ่งออกเป็น ส่วน
สะเว มิตตานิ คันถะติ                                      คฤหัสถ์นั้นผูกมิตรไว้ได้
เอเกนะ โภเค ภุญเชยยะ                                    พึงบริโภคจ่ายใช้โภคะด้วยส่วน
ทฺวีหิ กัมมัง ปะโยชะเย                                     พึงประกอบการงานด้วยส่วน
จะตุตถัญจะ นิธาเปยยะ                                   พึงเก็บส่วนที่ ไว้
อาปะทาสุ ภวิสสะตีติ.                                      ด้วยหมายว่าจักเก็บไว้ใช้จ่ายในคราวมีอันตราย
กะถัญจะ คะหะปะติปุตตะ                               ดูก่อนคฤหบดีบุตร อริยสาวกผู้
อะริยะสาวะโก ฉะทิสาปะฏิจฉาที โหติ            สกัดกั้นทิศทั้ง เอาไว้ อย่างไร?
ฉะ อิมา คะหะปะติปุตตะ ทิสา เวทิตัพพา        ดูก่อนคฤหบดีบุตร  ท่านพึงทราบทิศ ทิศเหล่านี้
ปุรัตถิมา ทิสา มาตาปิตะโร เวทิตัพพา             มารดาบิดา ท่านพึงทราบว่าเป็นทิศเบื้องหน้า
ทุกขิณา ทิสา อาจะริยา เวทิตัพพา                   อาจารย์ ท่านพึงทราบว่าเป็นทิศเบื้องขวา
ปัจฉิมา ทิส ปุตตะทารา เวทิตัพพา                  บุตรภรรยา ท่านพึงทราบว่าเป็นทิศเบื้องหลัง
อุตตะรา ทิสา มิตตามัจจา เวทิตัพพา               เพื่อน ท่านพึงทราบว่า เป็นทิศเบื้องซ้าย
เหฏฐิมา ทิสา ทาสะกัมมะกะรา เวทิตัพพา       บ่าวไพร่ คนทำการงาน ท่านพึงทราบว่าเป็นทิศเบื้องต่ำ
อุปะริมา ทิสา สะมะณะพฺราหฺมณา เวทิตัพพา สมณพรหมณ์ท่านพึงทราบว่าเป็นทิศเบื้องบน

ไม่มีความคิดเห็น: