วันศุกร์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2555

ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ๑๒


1 ทุกขอริยสัจจ
กะตะมัญจะ ภิกขะเว ทุกขํง อะริยะสัจจัง         ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ของจริงแห่งพระอริยเจ้าคือทุกข์
 เป็นอย่างไร
ชาติปิ ทุกขา                                                            แม้ชาติ ( ความเกิด) ก็เป็นทุกข์
ชะราปิ ทุกขา                                               แม้ชรา ( ความแก่ ) ก็เป็นทุกข์
มะระณัมปิ ทุกขัง                                         แม้มรณะ (ความตาย ) ก็เป็นทุกข์
โสกะปะริเทวะทุกขะ                                    แม้โสกะ ( ความโศก) ปริเทวะ( ความร่ำไรรำพัน) ทุกข์
โทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา                              (ความไม่สบายกาย) โทมนัส ( ความไม่เสียใจ) และ
                                                                        อุปายาส ( ความคับแค้นใจ) ก็เป็นทุกข์
อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข                          ความประสบสัตว์และสังขาร ซึ่งไม่เป็นทีรักก็เป็นทุกข์
ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข                               ความพลัดพรากจากสัตว์และสังขารซึ่งเป็นที่รักก็เป็นทุกข์
ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง                 สัตว์ปรารถนาสิ่งใดย่อมไม่ได้
แม้ข้อไม่สมประสงค์นั้น ก็เป็นทุกข์
สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา        โดยย่อ อุปาทานขันธ์
( ขันธ์ประกอบด้วยอุปาทาน ความถือมั่น)เป็นทุกข์
ชาติ
กะตะมา จะ ภิกขะเว ชาติ                                 ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ชาติ (ความเกิด) เป็นอย่างไร?
ยา เตสัง เตสัง สัตตานัง ตัมหิ                          ความเกิด เกิดพร้อม( คือมีอายตนะบริบูรณ์) ความหยั่งลง
ตัมหิ สัตตะนิกาเย ชาติ สัญชาติ                       (คือ เป็นชลาพุชะ หรืออัณพชปฏิสนธิ) เกิด
โอกกันติ นิพพัตติ อะภินิพพัตติ                      ( คือเป็นสังเสทะชะปฏิสนธิ) เกิดจำเพาะ
( คือเป็นอุปปาติกะ
ขันธานัง ปาตุภาโว อายะตะนานัง ปฏิลาโภ     ปฏิสนธิ) ความปรากฏขึ้นแห่งขันธ์  ความได้อายตนะครบ
                                                                        ในหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ อันใด
อะยัง วุจจะติ ชาติ                                            ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันนี้ที่กล่าวว่า ชาติ (ความเกิด)
กะตะมา จะ ภิกขะเว ชรา                                 ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ชรา( ความแก่) เป็นอย่างไร?
ยา  เตสัง เตสัง สัตตานัง ตัมหิ                         ความแก่ ความคร่ำคร่า ความที่ฟันหลุด ความที่ผมหงอก
ตัมหิ สัตตะนิกาเย ชะรา ชีระณะตา                  ความที่หนังเหียว เป็นเกลียว  ความเสื่อมแห่งอายุ
ขัณฑิจจัง ปาลิจจัง วะลิตะจะตา                      ความแก่หง่อมแห่งอินทรีย์ในหมู่สัตว์นั้นๆ
อายุโน สังหานิ อินทะริยานิ ปะริปาโก             ของสัตว์นั้นๆ อันใด
อะยัง วุจจะติ ภิกชะเว ชะรา                             ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันนี้ที่กล่าวว่า ชรา( ความแก่)

ไม่มีความคิดเห็น: